การศึกษาเปรียบเทียบผู้ป่วยชายและหญิงที่ได้รับการผ่าตัดถุงนํ้าดีโดยวิธีส่องกล้อง: เพศชายมีผลต่ออัตราความล้มเหลวและภาวะแทรกซ้อนหรือไม่

Main Article Content

สรรชัย กาญจนลาภ

Abstract

บทคัดย่อ

ความเป็นมา : การฝาตัดถุงนํ้าดีโดยวิธีส่องกล้องได้พัความนิยมมากในปัจจุบัน แต่อัตราการล้มเหลวและภาวะแทรกซ้อนอาจเกิด ขึ้นได้โดยไม่คาดคิดขณะผ่าตัด และส่วนใหญ่พบในเพศชาย วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผู้ปวยชายและหญิงที่ได้พัการผ่าตัดดังกล่าว ในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าว่ามีอัตราความล้มเหลว และภาวะแทรกซ้อนแตกต่างกันหรือไม่ วิธีการักษา : รวบรวมข้อมูลผู้ป่วย ทั้งชายและหญิงทีได้พัการผ่าตัดโดยศัลยแพทย์คนเดียวที่มีประสบการณ์มากกว่า 5 ปี ผลการักษา : ผู้ป่วยชายหญิงทั้งหมด 244 ราย เป็นชาย 84 ราย และหญิง 160 ราย ฝาตัดล้มเหลวรวม 12 ราย เป็นชาย 8 ราย เป็นหญิง 4 ราย (คิดเป็นร้อยละ 9.25 : 2.5) ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) มีภาวะแทรกซ้อนรวม 14 ราย เป็นหญิง 11 รายและชาย 3 ราย (คิดเป็น ร้อยละ 6.87: 3.57) ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P = 0.391) ทั้งหมดได้รับการแก้ไขจนเป็นปกติ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตขณะผ่าตัดและหลังผ่าตัด สรุป : การศึกษานี้ พบว่าเพศชายมีอัตราความล้มเหลวการผ่าตัดมากกว่าเพศหญิงอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องมาจากเพศชายเก็บอาการเจ็บปวยไว้นานและตัดสินใจมาผ่าตัดข้ากว่าเพศหญิง ส่วนภาวะแทรกซ้อนเพศหญิงพบได้มากกว่าเพศชาย เนื่องจาก เพศหญิงมีการฝาตัดช่องท้องมาก่อนการผ่าตัดครั้งนี้มากกว่าเพศชาย มีผลต่อพังผืดที่มาติดผนังหน้าท้อง และการอักเสบในช่องท้อง ติดแน่นน้อยกว่าเพศชายทำให้การผ่าตัดดำเนินการไปได้ จนสำเร็จหรือเกิดปัญหาแทรกซ้อนขึ้น

คำสำคัญ: การฝาตัดถุงนํ้าดี • การส่องกล้องฝาตัด

 

Abstract

Background : Laparoscopic Cholecystectomy (LC) is now favorite to treat the patients who have symptomatic gallstone but the unexpected conversion and complications may occur. Whether the male gender is the risk factor for conversion and complication or not ? Material & Method : A prospective descriptive study on conversion rate to open surgery and complications in the patients who underwent Laparoscopic Cholecystectomy by single experienced surgeon. Results : The data revealed 244 patients (160 females, 84 males) 12 of them were converted, 8 males and 4 females. The conversion rate in male and female were 9.52% and 2.5% respectively (p < 0.05). Complications found in 11 females and 3 males were 6.87% and 3.57% respectively (p = 0.391) and all complicated cases were corrected successfully without mortality. Conclusions : The conversion of LC to open surgery is more prevalent among males and is probably attributable to delay of treatment and surgical decision. Females had more complications than males because of previous abdominal surgery and less tissue inflammation in the difficult cases. Females had more complications than males because of previous abdominal surgery and less tissue inflammation in the difficult cases.

Key Words: Cholecystectomy • Laparoscopic

 

Article Details

Section
นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Article)