ความสัมพันธ์ระหว่างการทำหน้าที่ของครอบครัว การรับรู้การสนับสนุนจากครอบครัวกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในเขตอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
Main Article Content
Abstract
ผลการวิจัยที่สำคัญพบว่า พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 พฤติกรรมการดูแลตนเองเฉลี่ย 4.38 วัน ต่อ สัปดาห์โดยส่วนใหญ่สามารถปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลตนเองด้าน การรับประทานยา และ การดูแลเท้าและสุขอนามัยดีที่สุด โดยเฉลี่ย 6.67 และ 5.38 วันต่อสัปดาห์ รองลงมาคือการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลตนเองในด้าน การรับประทานอาหาร ปฏิบัติได้ 3.33 วันต่อสัปดาห์ และการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการออกกำลังกาย และการประเมินตนเองนั้นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ปฏิบัติได้น้อยที่สุดเฉลี่ย 3.25 วันต่อสัปดาห์ และเมื่อหาความสัมพันธ์ พบว่า การทำหน้าของครอบครัว และ การรับรู้การสนับสนุนจากครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางบวก ในระดับต่ำกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p < 0.01
คำสำคัญ : การทำหน้าที่ของครอบครัว, การรับรู้การสนับสนุนจากครอบครัว, พฤติกรรมการแลตนเอง, ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
Relationship between Family function and Perceived Family support with Diabetes Self-care Behavior of Patients with type 2 Diabetes Mellitus in Banpong District, Ratchaburi Province
NuanAnong Srisuksai*
Abstract
The objectives of this research were to study relationship between family function and perceived family support with diabetes self-care behavior of patients with type 2 diabetes mellitus. A sample of 174 persons was selected from patients with type 2 diabetes mellitus, equal to over 40 years old. The research instrument consisted of 4 parts. Part 1 variables included personal data; age, sex, marital status, education, income, time of diabetes mellitus. Part 2: Thai Family Functioning Scale (30 questions). Part 3 PerceivedFamily Support scale (23 questions) and Part 4 Diabetes Self-care Behavior (19 questions). Data were analyzed by percentages, means and standard deviations. Pearson’s Product Moment Correlation was used for analyzing the associations among variables.
The major results found that patients with type 2 diabetes could practice the self-care behaviors which were good for their health about4.38 days per week.Considering the detail, most participants could perform self care behavior with medication management, diabetes foot care, and general hygiene at the highest scores (Mean = 6.67 and 5.38 days per week, respectively). Furthermore, the self-care behaviors relating to diabeticfood managementwas rated as the third highest at 3.33 days per week.However, physical activity and self assessment were rated lowest at 3.25 days per week. Moreover, family function and perceivedsocial support significantly associated with self care behaviors(p = 0.001).
Key words : Family function, Perceived family support, Self-care behavior, Patients with type 2 diabetes
*Nurse Instructor, Boromarajonani College of Nursing, Chakriraj
Article Details
บทความและรายงานวิจัยในวารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข เป็นความคิดเห็นของ ผู้เขียน มิใช่ของคณะผู้จัดทำ และมิใช่ความรับผิดชอบของสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งสามารถนำไปอ้างอิงได้