การพยากรณ์ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจังหวัดศรีสะเกษ
คำสำคัญ:
การพยากรณ์, ผู้ป่วยรายใหม่, จังหวัดศรีสะเกษบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานปีงบประมาณ 2567 ของจังหวัดศรีสะเกษ โดยใช้ข้อมูลผู้ป่วยใหม่รายเดือนกลุ่มรายงานมาตรฐาน การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ของกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 ปีงบประมาณ 2556 ถึง 2567 จำนวน 11 ปี กับ 3 เดือน รวม 135 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลรายเดือนด้วยวิธีบ๊อกและเจนกินส์ วิเคราะห์ข้อมูลรายปีด้วยทฤษฎีระบบเกรย์
การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายเดือนปีงบประมาณ 2567 ด้วยวิธีบ๊อกซ์และเจนกินส์ได้แบบจำลอง ARIMA แบบมีฤดูกาล มีค่าเฉลี่ยร้อยละความผิดพลาดสัมบูรณ์ (Mean Absolute Percentage Error, MAPE) 13.27 และ 12.54 ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ใช้พยากณ์ได้ดี สำหรับข้อมูลรายปีได้ใช้วิธีตามทฤษฎีระบบเกรย์พยากรณ์จำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายปี แบบจำลอง GM(1,1) มีค่า MAPE 12.91และ 7.76 ตามลำดับ
ดังนั้น ในปีงบประมาณ 2567 การพยากรณ์จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ของจังหวัดศรีสะเกษตามแนวโน้มข้อมูลรายปีที่มีจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ใหม่เพิ่มขึ้น จำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงจะมี 19,057 คน ตามแบบจำลองทฤษฎีระบบเกรย์ และจำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคโรคเบาหวานจะมี 7,449 คน ตามแบบจำลองวิธีบ๊อกซ์และเจนกินส์ จำนวนผู้ป่วยที่คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้นสามารถนำไปใช้ในการวางแผนมาตรการป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูงและเบาหวานในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษต่อไป
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2567ก). กลุ่มรายงานมาตรฐาน การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร เขตสุขภาพที่ 10 ปีงบประมาณ 2556 ถึง 2567. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2567, จาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php? &cat_id= 6a1fdf282fd28180eed7d1cfe0155e11&id=6b9af46d0cc1830d3bd34589c1081c68#
กระทรวงสาธารณสุข. (2567ข). กลุ่มรายงานมาตรฐาน การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากร เขตสุขภาพที่ 10 ปีงบประมาณ 2556 ถึง 2567. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2567, จาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php? &cat_id=6a1fdf282fd28180eed7d1cfe0155e11&id=cefa42b9223ec4d1969c5ce18d762bdd
ชัยพฤกษ์ นิละนนท์. (2563). การพยากรณ์ปริมาณความต้องการเหล็กรีดร้อนภายในประเทศด้วยวิธีการเรียนรู้ของเครื่อง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรพิมล อดัมส์. (2566). เอกสารประกอบคำบรรยาย ความสำคัญของการขอรับรองจริธรรมการวิจัย. หลักสูตรจริธรรมการวิจัยในคนสำหรับการวิจัยด้านสังคมศาตร์และพฤติกรรมศาสตร์ ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล. หน้า 21. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2567, จาก https://ethics-learning. mahidol.ac.th
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2565). ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง แนวปฏิบัติสำหรับโครงการที่ไม่เข้าข่ายการวิจัยในคน พ.ศ. 2565. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2567, จาก https://sp.mahidol.ac.th/th/LAW/policy/2565-MU-Non-Human.pdf
วิชัย เอกพลากร (บรรณาธิการ). 2564. รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562 - 2563. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์
วัฒนา ชยธวัช, ศุภรัศมิ์ อัศวพรธนภัทร์, จันทนา ปราการสมุทร, และขนิษฐา นาคเกลี้ยง. (2567). สหสัมพันธ์ของจํานวนผู้ป่วยโรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ. วารสารหมอยาไทยวิจัย, 9(2),59-70.
ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล. (2566). แบบฟอร์มประเมินตนเอง เข้าข่ายการวิจัยในคนหรือไม่ (Eng, Thai). ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2567, จาก https://sp.mahidol.ac.th/th/ethics-human/assessment.html
อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์, ภาณุวัฒน์ คำวังสง่า, และ สุธิดา แก้วทา (บรรณาธิการ). (2563). รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์
Altman, N., Krzywinski, M. (2015). Association, correlation and causation. Nat Methods 12, 899–900. https://doi.org/10.1038/nmeth.3587
Asante, D.O., Walker, A.N., Seidu, T.A., Kpogo, S.A., Zou, S.J. (2022). Hypertension and Diabetes in Akatsi South District, Ghana: Modeling and Forecasting. BioMed Research International, 2022, Article ID 9690964, 11 pages. https://doi.org/10.1155/2022/9690964
Hyndman, R.J., Athanasopoulos, G., Bergmeir, C., Caceres, C., Chhay, L., Kirill Kuroptev K., …, Zhou, Z. (2023). forecast: Forecasting Functions for Time Series and Linear Models. Retrieved 25 January 2024, from https://cran.r-project.org/web/packages /forecast/index.html
Hyndman, R.J., and Athanasopoulos, G. (2018). Forecasting: principles and practice. (2nd edition). Melbourne, Australia: OTexts. Retrieved 25 January 2024, from https://otexts.com/fpp2/
Khan, R. (2017). ARIMA model for forecasting– Example in R. Retrieved 25 January 2024, from https://rpubs.com/riazakhan94/arima _with_example
Lewis, C.D. (2023). CD. Industrial and business forecasting methods. London: Butterworths.
Lin, Y.H., Chiu, C.C., Lin, Y.J., Lee, P.C. (2013). Rainfall prediction using innovative grey model with the dynamic index. Journal of Marine Science and Technology, 21(1), 63-75. DOI:10.6119/JMST-011-1116-1
Liu, S., and Lin, Y. (2010). Grey systems theory and application. Verlag: Springer.
Makridakis, S., Wheelwright, S.C., & Hyndman, R.J. (2008). Forecasting methods and applications. (3rd ed.). Delhi: Wiley India.
The jamovi project. (2022). jamovi. (Version 2.3) [Computer Software]. Retrieved 25 January 2024, from https://www.jamovi.org.
Wang, Y-w., Shen, Z-z., and Jiang, Y. (2018). Comparison of ARIMA and GM(1,1) models for prediction of hepatitis B in China. PLoS ONE,3(9),e0201987. doi.org/10.1371/journal
Yuan, C., Liu, S., and Fang, Z. (2016). Comparison of China's primary energy consumption forecasting by using ARIMA (the autoregressive integrated moving average) model and GM(1,1) model. Energy,100,384-390. https://doi.org/10.1016/j.energy.2016.02.001
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากบรรณาธิการวารสารนี้ก่อนเท่านั้น