บทบาทของพยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉินในภาวะภัยพิบัติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ภัยพิบัติ คือเหตุการณ์โดยธรรมชาติหรือมนุษย์ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สิน ความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม เป็นเหตุการณ์ที่มีความรุนแรงมากกว่าภาวะฉุกเฉิน ส่งผลให้ชุมชนไม่สามารถรับมือได้ ระบบการดูแลรักษาที่มีอยู่ชะงักลง การปฏิบัติงานในการจัดการภัยพิบัติจึงจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือจากภายนอก เช่นอาสาสมัคร ทีมสุขภาพและหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกพื้นที่ พยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉินเป็นผู้ที่มีสมรรถนะการจัดการภาวะฉุกเฉินทั้งในภาวะปกติและภัยพิบัติ จึงเป็นบุคลากรในทีมสุขภาพที่มีบทบาทสำคัญในการเตรียมการและตอบสนองต่อภาวะภัยพิบัติ
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาลถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาล ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวชิรสารการพยาบาล หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวชิรสารการพยาบาลก่อนเท่านั้น
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2554). แนวปฏิบัติโรงพยาบาลสนามสำหรับสาธารณภัย. นนทบุรี:กระทรวงสาธารณสุข.
คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน จังหวัดสระบุรี. (2558). รายงานสรุปผลการประเมินความเสี่ยงในพื้นที่จังหวัดสระบุรี. เอกสารการประชุม.
พรเทพ ศิริวนารังสรรค์. (2554). การจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 3, 236-41.
ไพศาล ธัญญาวนิชกุล. (2555). รูปแบบโรงพยาบาลสนาม: การจัดบริการสุขภาพสำหรับประชาชนผู้ประสบภัยน้ำท่วม ณ วัดเขาสมอคอน ต.เขาสมอคอน อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี. อุตรดิตถ์:สำนักงานสาธารณสุข.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. (2559). คู่มือระบบบัญชาการเหตุการณ์ทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับการจัดการในภาวะสาธารณภัย/ภัยพิบัติ. นนทบุรี:สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.
สภาการพยาบาล (2558). หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2558. สืบค้นจาก http://www.tnc.or.th:81/files/2014/04/act_of_parliament-8495/__92205.pdf
Hassmiller, S.B. & Stanley, S.A. (2012). Public Health Nursing and the Disaster Management Cycle. Public Health Nursing. Missouri: Mosby.
International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies. (2000). Introduction to Disaster preparedness. Retrieved from http://www.ifrc.org/Global/ Introdp
International Strategy for Disaster Reduction. (2007). Hyogo Framework for Action 2005-2015: Building the Resilience of Nations and Communities to Disasters 2007. Retrieved from http://www.unisdr.org/2005/wcdr/intergover/official-doc/L-docs/Hyogo-framework-for-action-english.pdf.
The World Disaster report. (2012). Wdr2012-data dashboard. Retrieved from http://www. ifrcmedia.org/assets/pages/wdr2012/data/chart1/index.html.
World Health Organization and International Council of Nurses. (2009). ICN framework of disaster nursing competencies. Geneva: International Council of Nurse.