การดูแลความสะอาดช่องปากในผู้ป่วยวิกฤตเพื่อป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ: การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผู้ป่วยวิกฤตจำเป็นต้องได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจเพื่อช่วยในการพยุงชีวิต ทำให้กลไกการป้องกันโรคตามธรรมชาติของระบบทางเดินหายใจถูกรบกวน นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของการสะสมของเชื้อจุลชีพในช่องปาก หากผู้ป่วยวิกฤตไม่ได้รับการดูแลช่องปากที่มีประสิทธิภาพจะส่งผลให้เกิดภาวะเหงือกอักเสบ แผลในช่องปากและอาจลุกลามทำให้เกิดปอดอักเสบติดเชื้อจนทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์พัฒนาแนวปฏิบัติในการดูแลความสะอาดช่องปากในผู้ป่วยวิกฤต
เพื่อป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ โดยใช้กระบวนการใช้ผลงานวิจัยที่ได้จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตามกรอบ PICO ซึ่งเป็นงานวิจัยที่ตีพิมพ์ระหว่างปี 2002.ถึงปี 2012.พบงานวิจัย
จำนวน 15 เรื่อง ที่ตรงกับขอบเขตของการศึกษา ผลการศึกษาพบ 2 ประเด็นใหญ่ๆ คือแนวปฏิบัติในการดูแลความสะอาดช่องปากที่เป็นมาตรฐาน ได้แก่ การประเมินสภาพช่องปาก อุปกรณ์และน้ำยาที่ใช้ ขั้นตอนปฏิบัติและการวัดผลสัมฤทธิ์ของกระบวนการดูแล และแนวปฏิบัติในการดูแลความสะอาดช่องปากจะเกิดผลสัมฤทธิ์ได้ต้องอาศัยขั้นตอนการดำเนินการด้านนโยบาย.คือต้องมีคณะกรรมการที่เป็นทีมสหสาขา เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม และผลักดันรวมถึงเตรียมบุคลากร เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความเข้าใจตรงกัน สามารถปฏิบัติงาน
ได้อย่างมีทิศทางและมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน อันจะทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานและเกิดความยั่งยืน
มากยิ่งขึ้น
ข้อเสนอแนะจากการศึกษาที่ได้ คือสามารถนำประเด็นจากการสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์
ไปพัฒนาเป็นแนวทางปฏิบัติในการดูแลความสะอาดช่องปากในผู้ป่วยวิกฤต เพื่อป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในหออภิบาล และนำไปศึกษาวิจัยในบริบทของแต่ละหน่วยต่อไป
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาลถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาล ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวชิรสารการพยาบาล หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวชิรสารการพยาบาลก่อนเท่านั้น
References
American Thoracic Society. (2005). Guidelines for management of adults with hospital-acquired, ventilator-associated, and healthcare-associated pneumonia. American Journal of Respiratory and Critical care Medicine, 171, 388-416.
Ames, N. J., Sulima, P., Yates, J. M., McCullagh, L., Gollins, S. L., Soeken, K., et al. (2011). Effects of systematic oral care in critically ill patients: A multicenter study. American Journal of Critical Care, 20(5), 2-10.
Beraldo, C. C., & Andrade, D. (2008). Oral hygiene with chlorhexidine in preventing pneumonia associated with mechanical ventilation. Journal Brasileiro de Pneumologia , 34(9), 707-714.
Berry, A. M., Davidson, P. M., Master, J., Rolls, K., & Ollerton, R. (2011). Effects of three approaches to standardized oral hygiene to reduce bacterial colonization and ventilator associated pneumonia in mechanically ventilated patients: A randomised control trial. Internatinal Journal of Nursing Studies, 48, 618-688.
Centers for Disease Control and Prevention. (2009). Ventilator-associated pneumonia (VAP) Event. Retrieved November 11, 2010, from www.cdc.gov/nhsn/PDFs/pscManual/ 6pscVAPcurrent.pdf
Cutler, C. P., & Davis, N. (2005). Improving oral care in patients receiving mechanical ventilation. American Journal of Critical Care, 14(5), 389-394.
DiCenso, A., Hutchison, B., Grimshaw, J., Edwards, N., & Guyatt, G. (2005). Health services interventions. In A. DiCenso, G. Guyatt & D. Ciliska (Eds.), Evidence-based nursing a guide to clinical practice (pp. 265-297). St. Louis, MO: Elsevier Mosby.
Fields, L. B. (2008). Oral Care intervention to reduce incidence of ventilator-associated pneumonia in neurologic intensive care unit. Journal of Neuroscience Nursing. 40(5). 291-298.
Grace, J. T. (2009). Essential skills for evidence-based practice: Strength of evidence. Journal of Nursing Science, 27(2), 8-13.
Hsu, S., Liao, C., Li, C., & Chiou, A. (2010). The effects of different oral care protocols on mucosal change in orally intubated patients from an intensive care unit. Journal of Clinical Nursing, 40, 1044-1053.
Hutchins, K., Karrens, G., Erwin, J., & Sullivan, L. K. (2009). Ventilator-associated pneumonia and oral care: A successful quality improvement project. American Journal of Infection Control, 37, 590-597.
Labeau, S. O., Van de Vyver, K., Brusselaers, N., Vogelaers, D., & Blot, S.I. (2011). Prevention of ventilator-associated pneumonia with oral antiseptics: A systematic review and meta-analysis. The Lancet Infectious Diseases, 11(11): 845-854.
Melnyk, B. M., & Fineout-Overtholt, E. (2002). Key steps in implementing evidence-based practice: Asking compelling, searchable questions and searching for the best evidence. Pediatric Nursing, 28(3), 161-165.
Mori, H., Hirasawa, H., Oda, S., Shiga, H., Matsuda, K., & Nakamura, M. (2006). Oral Care Reduce Incidence of Ventilator-Associated Pneumonia in ICU population. Intensive Care Medicine, 32,230-236.
Prendergast, V., Jakobsson, U., Renvert, S., & Hallberg, I. R. (2012). Effect of a standard versus comprehensive oral care protocol among intubated neuroscience ICU patients: Results of a randomized controlled trial. Journal of Neuroscience Nursing, 44(3), 134-146.
Roberts, N., & Moule, P. (2011). Chlorhexidine and tooth-brushing as prevention strategies in reducing ventilator-associated pneumonia rates. British Association of Critical Care Nurses. 16(6), 295-302.
Ross, A., & Crumpler, J. (2007). The impact of an evidence – based practice education program on the role of oral care in the prevention of ventilator-associated pneumonia. Intensive and Critical Care Nursing, 5, 1-5.
Rujipong, P., Lekutai, S., Pinyopasakul, W., & Rungruanghiranya, S. (2009). The effect of using an oral care clinical nursing practice guideline on oral hygiene status and ventilator-associated pneumonia in intubated patients. Journal of Nursing Science, 27(3),57-64.
Scannapieco, F. A. (2006). Pneumonia in nonambulatory patients: The role bacteria and oral hygiene. Journal of the American Dental Association, 137, 215-255.
Stonecypher, K. (2010). Ventilator-associated pneumonia: The Importance of oral care in intubated adults. Critical Care Nursing Quarterly, 33, 339-347.
Yao, Y. L., Chang, K. C., Maa, H. S., Wang, C., & Chen, C. C. (2011). Brushing Teeth With Purified Water to Reduce Ventilator-Associated Pneumonia. Journal of Nursing Research, 19(4), 289-296.