ผลของโปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการจัดการความเหนื่อยล้า ต่อความเหนื่อยล้าขอภรรยาหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง

Main Article Content

อมรรัตน์ ดีบุญโณ
ดร.จรัสศรี ธีระกุลชัย
ดร.จันทิมา ขนบดี

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการจัดการความเหนื่อยล้าต่อความเหนื่อยล้าของภรรยาหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ที่พักฟื้นในหน่วยหลังคลอด และมาตรวจตามนัดหลังคลอด 6 สัปดาห์ ที่หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกแผนกสูติกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 40 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมอย่างละ 20 ราย ซึ่งกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติและกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับได้รับโปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการจัดการความเหนื่อยล้า เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอดและแบบสอบถามเพิ่มเติมความช่วยเหลือที่ได้รับจากสามีในระยะหลังคลอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย การทดสอบค่าที การทดสอบไคสแควร์ และการทดสอบแมน-วิทนี-ยู ผลการวิจัยพบว่ามารดาหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสามีในการจัดการความเหนื่อยล้ามีความเหนื่อยล้าระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอดน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05)


 


 


 


 


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลวรรณ นำรอดภัย. (2551). ผลของโปรแกรมการจัดการกับความเหนื่อยล้าต่อระดับความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอดครรภ์แรกที่คลอดบุตรทางช่องคลอด. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
กมลวรรณ ลีนะธรรม และธนิดา จุลย์วนิชพงษ์. (2557). ผลของโปรแกรมการให้ความรู้และแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความเครียดของมารดาหลังคลอด. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอิสเทิร์น, 11(1), 1-11.
จันทกานต์ อังคณวัฒนานนท์. (2540). การสนับสนุนจากคู่สมรส ปัจจัยบางประการกับความเครียดในบทบาทของหญิงหลังคลอด. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.
จรัสศรี ธีระกุลชัย, จันทิมา ขนบดี และรัชดา วงษ์นิพนธ์. (2554). ความเหนื่อยล้าในมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง. วชิรสารการพยาบาล, 13(1), 28-44.
จรัสศรี ธีระกุลชัย, ชุติมา โฆวัฒนะกุล, ศิวพร สังวาล และสุวรรณี วังกานต์. (2543). ความเหนื่อยล้าของมารดาในระยะหลังคลอด. วารสารวิจัยทางการพยาบาล, 4(1), 78-90.
ทิพย์รัตน์ อุดมสุข, จันทิมา ขนบดี และจรัสศรี ธีระกุลชัย. (2552). ผลของการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าและคุณภาพการนอนหลับในมารดาหลังคลอด. วชิรสารการพยาบาล, 11(2), 49-59.
Cunningham, F. G., Leveno, K. J., Bloom, L. S., Hauth, J. C., Rouse, D. J., & Spong, C. Y. (2012). Williams obstetrics (23rded.). New York: The McGraw-Hill Companies.
Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavioral sciences. (2nded.). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Gardner, D. L. (1991). Fatigue in postpartum women. Applied Nursing Research, 4(2), 57-62.
Harrison, M. J., & Hicks, S. A. (1983). Postpartum concerns of mothers and their sources of help. Canadian Journal of Public Health, 74, 325-328.
Hart, L. K., Freel, M. I., & Milde, F. K. (1990). Fatigue. Nursing Clinics of North America, 25, 967-976.
Jansen, A. J. G., Duvekot, J. J., Hop, W. C. J., Essink-bot, M. L., Beckers, E. A. M., Karsdorp, V. H. M., Scherjon, S. A., Steegers, E. A. P., & Rhenen, V. D. J. (2007). New insights into fatigue and health-related quality of life after delivery. Acta Obstetricia Et Gynecologica Scandinavica, 86, 579-584.
McVeigh, C., John, W. S., & Cameron, C. (2005). Fathers’ functional status six weeks following the birth of a baby: a Queensland study. Australian Midwifery Journal, 18(1), 25-28.
North American Nursing Diagnosis Association. (1989). Classification of nursing diagnosis. In R. M. Carroll-Johnson (Ed). Proceeding of the eighth conference (pp.453-458). Philadelphia: J. B. Lipincott Lippincott.
Pochaiqoupt, P. (2000). A comparison of fatigue, episiotomy pain, and satisfaction between side-lying and sitting positions in postpartum breastfeeding mothers. Master’s thesis. Mahidol University, Thailand.
Pritchard, J. A., & McDonald, P. C. (1980). Williams’ obstetrics (16thed.). New York: Appleton-century-Crofts.
Pugh, L. G., & Milligan, R. A. (1993). A framework for the study of childbearing fatigue. Journal of Advance in Nursing Science, 15(4), 60-69.
Pugh, L. C., Milligan, R. A. Parks, P. L., Lenz, E. R., & Kitzman, H. K. (1999). Clinical approaches in the assessment of childbearing fatigue. Journal of Obstetric, Gynecological & Neonatal Nursing, 28(1), 74-79.
Redshaw, M., & Henderson, J. (2013). Fathers’ engagement in pregnancy and childbirth: evidence from a national survey. Bio Med Central Pregnancy & Childbirth. Retrieved October 24, 2014, from http://www.biomedcentral.com/1471-2393/13/70.
Reeder, S. R., Mastroianni, L., Jr., & Martin, L. L. (1983). Maternity nursing (15th ed.). Philadelphia: J. B. Lippincott.
Rhoten, D. (1982). Fatigue and the postsurgical patient. In C.M. Norris (Ed.), Concept clarification in nursing (pp. 277-300). Rockville, MD: Aspen Publications.
Smith, M. P. (1989). Postnatal concerns of mothers: An update. Midwifery, 3, 182-188.
Taylor, J., & Johnson, M. (2010). How women manage fatigue after childbirth. Midwifery, 26, 367-375.
Theerakulchai, J. (2004). Factors related to fatigue and fatigue management among Thai postpartum women. Doctoral dissertation, Chiang Mai University, Thailand.
Theerakulchai, J. & Tiansawad, S. (2004). Women’s experience of postpartum fatigue. Thai Journal of Nursing Research, 8(3), 223-234.
Troy, N. W. (2003). Is the significance of postpartum fatigue being overlooked in the lives of women. The American Journal Maternal Child Nursing, 28, 252-256.
Troy, N. W. & Dalgas-Pelish, P. (1997). The natural evolution of postpartum fatigue among a group of primiparous women. Clinical Nursing Research, 6(2), 126-141.
Troy, N. W. & Dalgas, P. P. (2003). The effectiveness of a self-care intervention for the management of postpartum fatigue. Applied Nursing Research, 16(1), 38-45.
Warren, P. L. (2005). First-time mothers: social support and confidence in infant care. Journal of Advance Nursing, 50(5), 479-488.