การประสานความร่วมมือระหว่างฝ่ายบริการพยาบาลกับฝ่ายการศึกษา เพื่อคุณภาพการบริการพยาบาล
Main Article Content
บทคัดย่อ
การประสานความร่วมมือระหว่างฝ่ายบริการพยาบาลกับฝ่ายการศึกษา เป็นกระบวนการของ
ความมุ่งมั่นพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง โดยให้เกียรติซึ่งกันและกัน ใช้ทรัพยากรร่วมกัน ปรับสภาพแวดล้อมการทำงานให้เหมาะสมกับการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลและการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานเช่นเดียวกับวิชาชีพอื่น รูปแบบของการประสานความร่วมมือระหว่างฝ่ายบริการพยาบาลกับฝ่ายการศึกษา มีการพัฒนาขึ้นให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสถาบัน มีการปรับรูปแบบให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงกับปัญหาสุขภาพของประชาชน เทคโนโลยีวิทยาการและค่าบริการทางการแพทย์ รวมทั้งลักษณะการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลยุคใหม่ อันจะส่งผลให้สามารถผลิตพยาบาลวิชาชีพ
ให้มีคุณลักษณะพร้อมสำหรับการบริการพยาบาลอย่างมีคุณภาพ
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาลถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาล ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวชิรสารการพยาบาล หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวชิรสารการพยาบาลก่อนเท่านั้น
References
คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. (2560, พฤศจิกายน 23). วัตถุประสงค์ขององค์กร. สืบค้นจาก http://www.kcn.ac.th/kcn/web/about.php?page=objective
คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2560, พฤศจิกายน 20). ประวัติคณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นจาก http://www.nurs.chula.ac.th/en/about-cu-fon/history.html
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2560, พฤศจิกายน 23). ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์. สืบค้นจาก http://www.nurse.cmu.ac.th/web/aboutFON.aspx?menuId=3
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560, พฤศจิกายน 23). ประวัติความเป็นมา. สืบค้นจาก http://www.ns.mahidol.ac.th/english/th/about_th.html
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. (2560, พฤศจิกายน 20). โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. สืบค้นจาก https://med.mahidol.ac.th/nursing/th/Brochure/RSNBrochure4
ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่. (2560, พฤศจิกายน 19). นโยบายด้านการพยาบาล. สืบค้นจาก http://www.med.cmu.ac.th/hospital/nis/thai/policy.htm
ดวงวดี สังขโลบล, ประสมศรี บุญยะตุลานนท์, ช่อลดา พันธุเสนา, วดี สุขสมบูรณ์, ทัศนีย์ นะแส, สาลี บุญศรีรัตน์,..........และ ประสานศรี ก่อสกุล. (2532). รูปแบบความร่วมมือระหว่างการศึกษาพยาบาลและ
การบริการการพยาบาล : กรณีตัวอย่างคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ
งานบริการการพยาบาลโรงพยาบาลหาดใหญ่. สงขลา: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์
ประกาศสภาการพยาบาล เรื่อง มาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัย. (2549, พฤศจิกายน 9). ราชกิจจานุเบกษา, 123(118 ง), 180-185. สืบค้นจาก https://www.tnmc.or.th/images/userfiles/files/P121.PDF
โรงพยาบาลหาดใหญ่. (2560, พฤศจิกายน 21). วิสัยทัศน์/พันธกิจ. สืบค้นจาก http://www.hatyaihospital.go.th/web/newsite/index.php/th/about-us/2014-12-13-10-59-27.
American Association of Colleges of Nursing. (1999). A vision of baccalaureate and graduate nursing education: The next decade. Journal of Professional Nursing, 15(1), 59-65.
Barnard, A. & Nash, R. (2005). Information literacy: developing lifelong skills through nursing education. Journal of Nursing Education, 44(11), 505-510
Callaghan, D., Watts, W.E., McCullough, D.L., Moreau, J.T., Little, M.A., Gamroth, C.M. & Durnford, K.L. (2009). The experience of two practice education models: Collaborative learning unit and preceptorship. Nurse Education in Practice, 9(4), 244-252.
Hord, S. M. (1986). A synthesis of research on organizational collaboration. Educational leadership, 43(5), 22-26.
Lougheed, M. & Galloway, A. (2005). The collaborative learning units model of practice education for nursing: a summary. British Columbia, Canada: The Collaborative Learning Units Provincial Group. Retrieved from
https://www.uvic.ca/hsd/nursing/assets/docs/undergraduate/transfer/current/clu.pdf
Malloy C. & Donahue, F.T. (1989). Collaboration projects between nursing education and nursing service: a case study. Nurse Educ Today, 9(6),368-77.
Mattessich, P. W., Murray-Close, M. & Monsey, B. R. (2001). Collaboration: What makes it work (2nd ed.). St. Paul, MN: Amherst H. Wilder Foundation.
Morin, K.H. (2011). Worldwide Standards for Nursing Education: One Answer to a Critical Need. Journal of Nursing Education, 50(7), 363-364.
Morley, L. & Cashell, A. (2017). Collaboration in Health Care. Journal of Medical Imaging and Radiation Sciences, 48(2): 207-216.
Palmer, S.P., Cox, A.H., Callister, L.C., Johnsen, V. & Matsumura, G. (2005). Nursing education and service collaboration: Making a difference in the clinical learning environment. The Journal of Continuing Education in Nursing, 36(6), 271-276.
Paterson, M. & Grandjean C. (2008). The Bridge to Practice Model: a collaborative program designed for clinical experiences in baccalaureate nursing. Nurs Econ, 26(5), 302-306.