ผลของการใช้โพวิโดนไอโอดีนออยท์เม้นท์ต่อภาวะหลอดเลือดดำอักเสบจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้โพวิโดน ไอโอดีน ออยท์เม้นท์ ต่อการบรรเทาภาวะหลอดเลือดดำอักเสบจากการทำหัตถการ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 36 คน ที่รับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1 แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลแบบปกติ และกลุ่มทดลอง ได้รับการปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้โพวิโดน ไอโอดีน ออยท์เม้นท์บริเวณแผลหลอดเลือดดำอักเสบ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมินภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติไคว์สแคว (chi-square) และ Fisher exact probability test
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับโพวิโดน ไอโอดีน ออยเมน์ มีการหายของภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ ในระยะเวลา 2 – 4 วัน แต่ผู้ป่วยที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ มีระยะเวลาการหายของภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ ในระยะเวลา 3 – 14 วัน และจากการเปรียบเทียบทางสถิติพบว่า โพวิโดน ไอโอดีน ออยท์เม้นท์มีผลต่อการบรรเทาภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ (p < .05)
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาลถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาล ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวชิรสารการพยาบาล หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวชิรสารการพยาบาลก่อนเท่านั้น
References
กรุณา กรองแก้ว, ภาวิณี สุคนธวิช, เยาวลักษณ์ หินซุย, & ผ่องพักตร์ พิทยพันธ์. (2550). อุบัติการเกิดหลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบในผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการรักษาทางศัลยกรรม. จุลสารชมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย, 17(1), 30-38.
คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล. (2553). สถิติการปฏิบัติงาน คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีงบประมาณ 2556. กรุงเทพฯ: งานเวชสถิติ สำนักงานผู้อำนวยการโรงพยาบาลวชิรพยาบาล
จรณิต แก้วกังวาล. (2011). ขนาดกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางคลินิก. กรุงเทพฯ.
ณิชาภา หน่อตุ้ย, สุรีรัตน์ ประธานราษฎร์, ณุพัทธ ไชยมงคล, สุชารินี ศรีสวัสดิ์, & พรหมมินทร์, น. (2552). ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการให้สารน้ำหรือยาทางหลอดเลือดดำต่ออุบัติการณ์หลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบ. In. เชียงใหม่: โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่.
วิมลวัลย์ วโรฬาร. (2560). หลอดเลือดดำอักเสบในผู้ป่วยเด็ก: การป้องกันและการดูแล. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 28(1), 16-28.
ศิริลักษณ์ อุปยโส. (2552). แผลการบูรณาการ การดูแลแผล:ฟาร์มาไทม์. กรุงเทพฯ: ฟาร์มาไทม์จำกัด.
ไสว นรสาร. (2006). หลอดเลือดดำส่วนปลายอักเสบจากการได้รับสารน้ำ: ความเสี่ยงทางคลินิกที่ป้องกันได้. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 12(2), 167-179.
อภัย ราษฎรวิจิตร. (2561). โพวิโดน-ไอโอดีน (Povidone-iodine). Retrieved from http://haamor.com/th/
Abdeyazdan, Z., Majidipour, N., & Zargham-Boroujeni, A. (2014). Comparison of the effects of povidone-iodine and chlorhexidine solutions on skin bacterial flora among hospitalized infants. J Educ Health Promot, 3, 16. doi:10.4103/2277-9531.127596
Erdogan, B. C., & Denat, Y. (2016). The Development of Phlebitis and Infiltration in Patients with Peripheral Intravenous Catheters in the Neurosurgery Clinic and Affecting Factors. International Journal of Caring Sciences, 9(2), 619-630.
Macklin, D. (2003). Phlebitis. Am J Nurs, 103(2), 55-60.
Ray-Barruel, G. (2017). INFECTION PREVENTION: PERIPHERAL INTRAVENOUS CATHETER ASSESSMENT AND CARE. Aust Nurs Midwifery J, 24(8), 34.
Ray-Barruel, G., Polit, D. F., Murfield, J. E., & Rickard, C. M. (2014). Infusion phlebitis assessment measures: a systematic review. J Eval Clin Pract, 20(2), 191-202. doi:10.1111/jep.12107
Thompson, D. (1989). Povidone-iodine and thrombophlebitis. Nurs Times, 85(30), 63.
Valles, J., Fernandez, I., Alcaraz, D., Chacon, E., Cazorla, A., Canals, M., Moron, A. (2008). Prospective randomized trial of 3 antiseptic solutions for prevention of catheter colonization in an intensive care unit for adult patients. Infect Control Hosp Epidemiol, 29(9), 847-853. doi:10.1086/590259