บทบาทของพยาบาลจิตเวชในการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยยึดหลักพุทธจริยศาสตร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเข้าสู่วัยผู้สูงอายุเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจ รวมทั้งทำให้เกิดปัญหาทางด้านสังคม และเศรษฐกิจของผู้สูงอายุ ที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเอง และความภาคภูมิใจในชีวิตของผู้สูงอายุ หากผู้สูงอายุไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในชีวิตได้ อาจทำให้มีปัญหาสุขภาพจิตหลายอย่างตามมา พยาบาลจิตเวชเป็นบุคลากรที่มีความเข้าใจในศาสตร์การดูแลสุขภาพบุคคลทุกช่วงวัย ตามกระบวนการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดี การส่งเสริมสุขภาพจิตต้องอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลและผู้รับบริการ ซึ่งต้องอาศัยทักษะในการสื่อสาร การใช้หลักพุทธจริยศาตร์เป็นหลักการหนึ่งที่นำมาใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้เกิดขึ้นจากภายในจิตใจ และสามารถจัดการกับปัญหาของตนเองได้ด้วยศักยภาพของตนเอง ซึ่งเป็นแนวทางการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยยึดหลักพุทธจริยศาสตร์ 4 ด้าน ดังนี้ 1) การดูแลด้านร่างกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต เนื่องจากสุขภาพกายและสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์กัน 2) การดูแลด้านจิตใจเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต โดยให้ผู้สูงอายุมีการพัฒนาจิตใจให้มีความสงบและเป็นปกติสุข 3) การดูแลด้านสังคมเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต เป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นทั้งในครอบครัว ชุมชน และสังคมได้ และ 4) การดูแลด้านจิตวิญญาณเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต โดยการให้ผู้สูงอายุมีการคิดที่ดีงาม มีความเข้าใจในชีวิตโดยยึดหลักพุทธจริยศาสตร์
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาลถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาล ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวชิรสารการพยาบาล หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวชิรสารการพยาบาลก่อนเท่านั้น
References
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2554). กรอบทิศทางการพัฒนางานสุขภาพจิตและแผนยุทธศาสตร์.
กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2554-2559). (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: ละม่อม.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2558). รอบทิศทางการพัฒนางานสุขภาพจิตและแผนยุทธศาสตร์.กรมสุขภาพจิต 2558. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2559). รายงานประจำปี กรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2559. กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2558). แนวทางการดูแลทางด้านสังคมจิตใจของผู้สูงอายุเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุงคร้งที่1). (พิมพ์ครั้งที่4). นนทบุรี: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรฐณธช ปัญญาใส, จุฑามาส กิติศรี และพิชชานาถ เงินดี. (2560). ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความต้องการของผู้สูงอายุ.วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 12(2), 65-74.
กาญจนา จันทร์ไทย, ธีรพร สถิรอังกูร, ประหยัด ประภาพรหม, และราณี พรมานะจิรังกุล. (2556). มาตรฐานการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. เชียงใหม่: เชียงใหม่.
เกษร มุ้ยจีน. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อระดับสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 23(2), 306-318.
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิและสังคมแห่งชาติ. (2552). ประชากรสูงอายุในประเทศไทยปี พ.ศ.2533-2573. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
คณะเภสัชศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2558). ปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ. สืบค้นจาก http://www.pham.chula.ac.th/physiopharm/content/ activity_%20lh/6.2.9html.
จิรวรรณ โปรดบำรุง, จรัส ลีกา และสุวิน ทองปั้น. (2559). การดูแลผู้สูงอายุตามหลักพุทธจริยศาสตร์. วารสารพุทธชินราชเวชสาร, 33(2), 233-240.
ชัยพัฒน์ พุฒซ้อน และกันตพัฒน์ พรศิริวัชรสิน. (2561). แนวทางการแก้ปัญหาสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 1(1), 25-35.
ทศา ชัยวรรณวรรต. (2560). บทบาทของพยาบาลจิตเวชในการส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 31(2), 16-31.
นันทวัช สิทธิรักษ์ (บรรณาธิการ). (2558). จิตเวชศิริราช DSM-5 (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพมหานคร: ประยูรสารไทย การพิมพ์.
ฉวีวรรณ สัตยธรรม. (2556). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. กรุงเทพฯ: ธนาเพลส.
ปิ่นนเรศ กาศอุดม, และมัณฑนา เหมชะญาต. (2554). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ในเทศบาล ตำบลบางกะจะ อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, 22(2), 61-70.
พจนา เปลี่ยนเกิด และสมพิศ เกิดศิริ. (2557). สมรรถนะของพยาบาลจิตเวชในการปฏิบัติการพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(2), 160-165.
พจ พระภูชิสสะ ปญญาปโชโต.(2562). การเสริมสร้างสุขภาวะตามหลักภาวนา 4 ของผู้สูงอายุในตำบลยางออม อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย.วารสาร มจร การพัฒนาสังคม, 4(1), 49-63.
เมธี วงศ์วีระพันธุ์.(2559). การส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุของชุมชนต้นแบบในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารจิตวิทยาคลีนิก, 47(1), 45-47.
ยาใจ สิทธิมงคล(บรรณาธิการ). (2561). การพยาบาลจิตเวชศาสตร์ Psychiatric Nursing. พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ:สแกนอาร์ต.
วรรณวิสาข์ ไชยโย. (2552). ทัศนเรื่องความสุขในผู้สูงอายุ:กรณีศึกษาบ้านวัยทองนิเวศน์. รายงานวิจัย. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วริยา จันทร์ขำ.(2559). การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน : บทบาทพยาบาลจิตเวช. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต.3(3),1-9.
วิชาญ ชูรัตน์, โยธิน แสวงดี และสุพาพร อรุณรักษ์สมบัติ. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะเสี่ยงการมีสุขภาพจิตของผู้สูงอายุไทย.วารสารประชากรไทย.3(2),87-92.
วิลาวรรณ คริสต์รักษา และทิพย์ภา เชษฐ์เชาวลิต.(2561). บทบาทพยาบาลจิตเวชชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะเจ็บป่วยทางจิตวิญญาณ : มิติจิตวิญญาณ.วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ.36(2),6-14.
สุจริต สุวรรณชีพ (บรรณาธิการ). (2558). แนวทางการดูแลทางด้านสังคมจิตใจของผู้สูงอายุเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1). พิมพ์ครั้งที่ 4.นนทบุรี:ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุดา วงศ์สวัสดิ์, ดุษฎี โยเหลา และนริศรา พึ่งโพธิ์สภ, การพัฒนารูปแบบการทำงานส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงของทีมสุขภาพในชุมชน. (2562). วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้.6(2),229-243.
สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2559). มาตรฐานการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในโรงพยาบาลชุมชน(ฉบับปรับปรุง).นนทบุรี:กระทรวงสาธารณสุข. สำนักยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต.(2557).ยุทธศาสตร์และนโยบายการดำเนินงาน กรมสุขภาพจิต 2558-2559. นนทบุรี:กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
องค์การอนามัยโลกแผนกสุขภาพจิตและสารเสพติด ร่วมกับกองทุนส่งเสริมสุขภาพแห่งวิคตอเรียและมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น. (2560). การส่งเสริมสุขภาพจิต แนวคิด หลักฐาน และแนวทางปฏิบัติ (รายงานสรุป).เชียงใหม่:วนิดาการพิมพ์.
อุทัย รตนปฺโญ.(2556). ศึกษาวิเคราะห์หลักพุทธจริยศาสตร์ตามที่ปรากฏในธรรมบท. (ดุษฎีนิพนธ์). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพฯ ประเทศไทย.
American psychiatric Nurse Association. (2020). What do Psychiatric-mental health nurse do?. Retrieved from apa.org/i4a/Pages/index.efm.pageid=3292#1
Cleary,M.and Cross.W. (2017). Mental health promotion In Daly, J., Speedy,S.and Jackson,D. (Ed.), Contexs of Nursing (pp. 303-320). Elsevier Australia.
Elder,R.,Evans., K., Nizette,D., &Trenoweth,S. (2014). Mental health nursing: A manual for practice. London:Churchill Livingstone Elsevier.
Lynch,E.(2016). Introduction to psychiatric nursing. In Gersch,Carolyn J.,Heimgartner,Nicole M.,Rebar,Cherie R.,Willis,Laura.and V.Title.(Ed.), Psychiatric nursing made incredibly easy!. (pp. 1-44) Philadelphia,PA:Wolters Kluwer.
Shives LR. (2012). Basic concepts of Psychiatric-mental health Nursing.8th ed. Philadelphia:Wolters Kluwer.
Wilkes,L.,Jackson,D.,Miranda,C.,&Watson,R. (2012). The role of clinical trial nurses: An Australian perspective.Collegian.19 (14), 239-246.
World Health Organization.(2013).Mental health action plan2012-2020 printed by the WHO Document Production Services, Geneva, Switzerland. Retrieved February 2,2016,from http://www.who.int/mental_health_publications/action_ plan/en/
World Health Organization.(2020).Defining old. Retrieved from https://www.who.int/healthinfo/survey/ageingdefnolder/en/