บทบาทพยาบาลจิตเวชในการส่งเสริมการเข้าถึงการดูแลจิตเวชฉุกเฉิน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเข้าถึงบริการฉุกเฉินของผู้ป่วยจิตเวชมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น แต่ระบบการให้บริการยังมีข้อจำกัด เนื่องจาก การให้บริการไม่เอื้อการปฏิบัติการนำส่งและดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน บุคลากรด้านสุขภาพที่ให้บริการจิตเวชฉุกเฉินขาดความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช มีทัศนคติเชิงลบต่อผู้ป่วยจิตเวช และประเมินระดับความรุนแรงยังไม่ครอบคลุมอาการบกพร่องทางจิตด้านการรับรู้และพฤติกรรมที่ผิดปกติ พยาบาลจิตเวชควรส่งเสริมการเข้าถึงการดูแลจิตเวชฉุกเฉินกับประชาชนและบุคลากรด้านสุขภาพ โดยการให้ความรู้ คัดกรองความเสี่ยงและให้การรักษาทันที และการทำวิจัยเกี่ยวกับการส่งเสริมการเข้าถึงบริการจิตเวชฉุกเฉินเพื่อปรับปรุงการดูแลทางจิตเวช
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาลถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาล ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวชิรสารการพยาบาล หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวชิรสารการพยาบาลก่อนเท่านั้น
References
กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2561). แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน (Acute Care) สำหรับหน่วยบริการสาธารณสุข (ระดับ A, S, M1 และ M2) ฉบับทดลองใช้ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัทบียอนด์พับลิสชิ่ง จำกัด.
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2561). แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ.2561-2580). นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2560). สรุปผลการดำเนินงาน “หนึ่งทศวรรษการขับเคลื่อน พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551” วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม 2560 ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
กาญจนา จันทร์ไทย, ธีรพร สถิรอังกูร, ประหยัด ประภาพรม และ ราณี พรมานะจิรังกุล (บรรณาธิการ) (2557). มาตรฐานการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
เดชา ลิลิตอนันต์พงศ์. (2561). ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวชศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เบ็ญจมาส พฤกษ์กานนท์, ธีระ ศิริสมุด, สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล, สกาวรัตน์ พวงลัดดา และ กนกวรรณ สุดศรีวิไล. (2556). การสำรวจระบาดวิทยาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในโครงการสนับสนุนและส่งเสริมการบริการครบวงจรสำหรับผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่เป้าหมายเร่งรัดภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (โครงการบริการสุขภาพจิตครบวงจร) (รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์). นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
ประภา ยุทธไตร. (2557). จิตเวชฉุกเฉินและการจัดการ. ใน ประภา ยุทธไตร, อัจฉราภรณ์ สี่หิรัญวงศ์, พวงเพชร เกษรสมุทร และ วารีรัตน์ ถาน้อย (บรรณาธิการ), การพยาบาลจิตเวชศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
พรทิพย์ วชิรดิลก, ธีระ ศิริสมุด, สินีนุช ชัยสิทธิ์ และ อนุชา เศรษฐเสถียร. (2559). การคัดแยกผู้ป่วยแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินในประเทศไทย. วารสารการพยาบาล, 31(2), 96-108.
พรทิพย์ วชิรดิลก, ธีระ ศิริสมุด และ อนุรัตน์ สมตน. (2561). ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตที่เข้าถึงระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศไทย. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 32(2), 69-83.
มาโนช หล่อตระกูล. (บรรณาธิการ). (2544). คู่มือการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับแพทย์ (ฉบับปรับปรุง 2544). นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
สมจิตต์ ลุประสงค์, มยุรี กลับวงษ, สมหมาย หิรัญนุช, อัมภา ศรารัชต์ และ พรทิพย ์ คงสัตย์. (2557).
คู่มือประกอบการใช้เกณฑ์การจําแนกประเภทผู้ป่วยจิตเวช. ชมรมเครือข่ายพยาบาลจิตเวช กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. นครราชสีมา: เดชพรการพิมพ์.
เสาวลักษณ์ สุวรรณไมตรี, นพพร ตันติรังสี, วัลลี ธรรมโกสิทธิ์, ราณี ฉายินทุ, เลิศศิริ ราชเดิม, เจริญพร กิจชนะพาณิชย์,…กฤตเมธ ตุ้มฉาย. (2561). คู่มือปฏิบัติงานทีมช่วยเหลือทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ฉบับทดลองใช้. นนทบุรี: กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต.
อุรา สุวรรณรักษ์, สุนิสา สุวรรณรักษ์, พรธิดา แย้มพยนต์, รังสรรค์ คูหากาญจน์, โสรัจจะ ชูแสง และ อนุรัตน์ สมตน. (2559). ช่องว่างการแพทย์ฉุกเฉินไทย รายงานสถานการณ์ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2558. นนทบุรี: สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.
Dombagolla, M.H.K., Kant, J.A., Lai, F.W.Y., Hendarto, A. & Taylor, D.M. (2019). Barriers to providing optimal management of psychiatric patients in the emergency department (psychiatric patient management). Australasian Emergency Care, 22, 8-12.
Peltzer-Jones, J., Nordstrom, K., Currier, G., Berlin, J.S., Singh, C. & Schneider, S. (2019). A research agenda for assessment and management of psychosis in emergency department patients. Western Journal of Emergency Medicine, 20(2), 403-408.
Prince, M., Patel, V., Saxena, S., Maj, M., Maselko, J., Phillip, M.R., et al. (2007). No health without mental health. The Lancet, 370(9590), 859-877.
Rosenheck, R., Leslie, D., Keefe, R., McEvoy, J., Swartz, M., Perkins, D., et al. (2006). Barriers to employment for people with schizophrenia. American Journal of Psychiatry, 163(3), 411-419.
Wilson, M.P., Shenvi, C., Rives, L., Nordstrom, K., Schneider, S. & Gerardi, M. (2019). Opportunities for research in mental health emergency: executive summary and methodology. Western Journal of Emergency Medicine, 20(2), 380-385.
World Health Organization. (2019). The WHO special initiative for mental health (2019-2023): universal health coverage for mental health. Geneva: World Health Organization.