การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งตับอ่อนในระยะสุดท้าย: กรณีศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผู้ป่วยมะเร็งตับอ่อนมีการดำเนินของโรคเข้าสู่ระยะสุดท้าย เนื่องจากอาการและอาการแสดงของโรคส่วนใหญ่จะได้รับการวินิจฉัยพบในระยะลุกลามแล้วนั้น ลักษณะอาการของการเข้าสู่ระยะสุดท้ายของผู้ป่วย อาจเป็นแบบเฉียบพลันหรือแบบเรื้อรังค่อยเป็นค่อยไป จนอาการทรุดลงเรื่อย ๆ ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ทำให้ชีวิตอยู่ได้ไม่เกิน 12 เดือน ดังนั้นพยาบาลวิชาชีพจำเป็นอย่างยิ่งต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายเนื่องจากเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยมากที่สุด บทความวิชาการฉบับนี้ผู้เขียนทบทวนวิชาการเกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยา อาการและอาการแสดง ระยะของโรค การรักษา การเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ของผู้ป่วยมะเร็งตับอ่อนเมื่อโรคเข้าสู่ระยะสุดท้าย และให้การพยาบาลที่เหมาะสม โดยมีกรณีศึกษาเป็นตัวอย่างประกอบเพื่อเป็นแนวทางสำหรับพยาบาลในการให้การดูแลผู้ป่วยเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาลถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาล ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวชิรสารการพยาบาล หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวชิรสารการพยาบาลก่อนเท่านั้น
References
กิตติกร นิลมานัต. (2555). การดูแลระยะสุดท้ายของชีวิต. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.
ชัยพิชิต พุทธาพิทักษ์พงศ์. (2561). การดูแลโรคตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง. เวชสารแพทย์ทหารบก. 71(2). 141-149.
เต็มศักดิ์ พึ่งรัศมี. (2556). Palliative Care ในประเทศไทยและเครือข่าย Palliative Care ในโรงเรียนแพทย์. ใน บุษยามาส ชีวสกุยง (บรรณาธิการ),การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (พิมพ์ครั้งที่ 1,หน้า 1-12). เชียงใหม่: บริษัทกลางเวียง การพิมพ์ จำกัด.
ธีระชล สาตสิน และเยาวรัตน์ มัชฌิม. (2560). การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย: บริบทของห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน. วชิรสารการพยาบาล,19(1), 1-9.
นิตยา ภูริพันธุ์, ดวงกมล ดีทองคำ และปณิตา คุณสาระ. (2563). การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดการอาการปวด ในผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายด้วยสมาธิบำบัด SKT-8. วารสารกองการพยาบาล, 41(1), 173-189.
ปกรณ์ ทองวิไล. (2553). การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (ทางการแพทย์) “ช่วยให้เกิดการตายอย่างมีศักดิ์ศรีเมื่อวาระสุดท้ายมาถึง”. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว, 2(5),12-16.
พระไพศาล วิสาโล. (2552). พระพุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโกมลคีมทอง.
พัชรีรัตน์ อันสีแก้ว, เยาวรัตน์ มัชฌิม และหทัยวรรณ รัตนบรรเจิดกุล. (2563). ผลของโปรแกรมการดูแลระยะท้ายต่อผลลัพธ์การดูแลแบบประคับประคองและการรับรู้ระยะท้ายของชีวิตที่สงบในผู้ป่วยมะเร็งระยะท้าย. วารสารพยาบาลทหารบก. 21(2). 315-323.
ศิริพร เสมสาร, สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม และพิชัย จันทร์ศรีวงศ์. (2561). ผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถของญาติผู้ดูแลต่อผลลัพธ์ ด้านญาติผู้ดูแลและด้านผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังระยะท้าย. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย. 5(1), 112-126.
Bruera, E., Kuehn, N., Miller, M. J., Selmser, P., and Macmillan, K. (1991). The Edmonton SymptonAssessment System (ESAS): a simple method for the assessment of palliative carePatients. Journal of palliative care, 7(2): 6-9.
General Medical Council. (2010). Understanding the General Medical Council’s guidance Treatment and Care Towards the End of Life 2010. Treatment and care towards the end of life: good practice in decision making. Retrieved from: http://www.gmc-uk.org/guidance/ethical_guidance/6858.asp.
Lippert, F. K., Raffay, V., Georgiou, M., Steen, P. A., & Bossaert, L. (2010). European Resuscitation Council guidelines for Resuscitation 2010 Section 10. The ethics of resuscitation and end-of-life decisions. Resuscitation, 81(10), 1445-1451.
Martins Pereira, S., Hernández-Marrero, P., Pasman, H. R., Capelas, M. L., Larkin, P., & Francke, A. L. (2021). Nursing education on palliative care across Europe: Results and recommendations from the EAPC Taskforce on preparation for practice in palliative care nursing across the EU based on an online-survey and country reports. Palliative Medicine, 35(1), 130-141.
McGuigan, A., Kelly, P., Turkington, R. C., Jones, C., Coleman, H. G., & McCain, R. S. (2018). Pancreatic cancer: A review of clinical diagnosis, epidemiology, treatment and outcomes. World journal of gastroenterology, 24(43), 4846.
Saad, A. M., Turk, T., Al-Husseini, M. J., & Abdel-Rahman, O. (2018). Trends in pancreatic adenocarcinoma incidence and mortality in the United States in the last four decades; a SEER-based study. BMC cancer, 18(1), 1-11.
Satsin, T., Matchim, Y., & Thongthawee, B. (2017). Emergency nurses’ competency in the provision of palliative care and related factors. Songklanagarind Journal of Nursing, 37(Supplement), 41-50.
WHO. (2002). WHO Definition of Palliative Care. Retrieved from: http://www.who.int/cancer/palliative/definition/en/