บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ณ หน่วยบริการผู้ป่วยนอก

Main Article Content

ศุทธิจิต ภูมิวัฒนะ
ศริญญา ภูวนันท์
อรวิกาญจน์ ชัยมงคล

บทคัดย่อ

ภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure: HF) เป็นกลุ่มอาการทางคลินิก (clinical syndrome)ที่เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ของหัวใจ ส่งผลให้หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงเซลล์เนื้อเยื่อร่างกายหรือรับเลือดกลับเข้าสู่หัวใจได้ตามปกติ ทั้งนี้ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาและออกจากโรงพยาบาลจะกลายเป็นผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง หากมีการดูแลตนเองที่ไม่มีประสิทธิภาพจะส่งผลให้ต้องกลับมาเข้ารับการรักษาซ้ำในโรงพยาบาล ซึ่งการดูแลตนเองที่มีประสิทธิภาพประกอบด้วยการให้ความรู้ผู้ป่วยในเรื่องของการดูแลตนเองเพื่อคงสภาวะสุขภาพ (self care maintenance)  การติดตามตนเอง (self care monitoring) และ การจัดการดูแลตนเอง (self care management) โดยพยาบาลจะต้องส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจและคงไว้ซึ่งการปฏิบัติการดูแลตนเองที่ถูกต้องและต่อเนื่อง  ดังนั้นพยาบาล ณ หน่วยบริการผู้ป่วยนอก จึงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง เพราะผู้ป่วยเหล่านี้จำเป็นต้องมีการดูแลอย่างต่อเนื่องหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล โดยมีเป้าหมายให้ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาพยาบาลภาวะหัวใจล้มเหลวได้อย่างต่อเนื่อง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงสาธารณสุข, กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน. (2563). สถิติสาธารณสุข พ.ศ.2562. สืบค้น 1 พฤศจิกายน 2564, จาก https://dohdata center.anamai.moph.go.th/coverpage/fb2723a02584215397a686fd4f49b39a.pdf

ชานนท์ มหารักษ์. (2562). อัตราตายและอัตราการเข้ารักษาซ้ำของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลพังงา. วารสารวิชาการแพทย์ เขต 11, 33(2), 311-325.

ปิยภัทร ชุณหรัศมิ์, ธีรภัทร ยิ่งชนม์เจริญ, และระพีพล กุญชร ณ อยุธยา. (บ.ก.). (2562). แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2562 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สมุทรปราการ: เนคสเตป ดีไซน์.

รพีพรรณ อภิรมรัตน์. (2560). การส่งเสริมคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 28(2), 2-15.

รังสฤษฏ์ กาญจนะวณิชย์, และอรินทยา พรหมินธิกุล. (2558). คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรังแบบบูรณาการ Comprehensive Heart Failure Management Program (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: คอนเซ็พท์ เมดิคัส.

เรวัตร พันธุ์กิ่งทองคำ. (2559). บทที่ 4 Acute heart failure. ใน รุ่งโรจน์ กฤตยพงษ์

เรวัตร พันธุ์กิ่งทองคำ, ณัฐวุฒิ วงษ์ประภารัตน์, และอดิศักดิ์ มณีไสย (บ.ก.), Cardiac emergencies (2nd ed.) (น.75-101). นนทบุรี: ม.ป.ท.

วัชราพร เชยสุวรรณ. (2560). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ : แนวคิดและการประยุกต์สู่ การปฏิบัติการพยาบาล. วารสารแพทย์นาวี. 44(3), 183-197.

สมนึก นิลบุหงา, และปานสิริ พันธุ์สุวรรณ. (2555). ระบบหัวใจและการทำงาน Functional cardiology (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Abdurrachim, R., & Chairunnisa, N. (2020). The role of sodium intake and liquid balance to overcoming breathing based on respiration rate (RR) on congestive heart failure (CHF) patients. Indonesian Journal of Nutrition and Dietetics, 8(2), 93-100.

Ariyachaipanich, A., Krittayaphong, R., Kunjara Na Ayudhya, R., Yingchoncharoen, T., Buakhamsri, A., & Suvachittanont, N. (2019). Heart Failure Council of Thailand (HFCT) 2019 heart failure guideline: Introduction and diagnosis. Journal of the Medical Association of Thailand, 102(2), 231-239.

Bozkurt, B., Fonarow, G. C., Goldberg, L. R., Guglin, M., Josephson, R. A., & Forman, D. E. (2021). Cardiac rehabilitation for patients with heart failure. Journal of the American College of Cardiology, 77(11), 1454-1469.

Brahmbhatt, D. H., & Cowie, M. R. (2018). Heart failure: Classification and pathophysiology. Heart Muscle Disease, 46(10), 587-593.

Cahalin, L. P., & Arena, R. A. (2015). Breathing exercises and inspiratory muscle training in heart failure. Heart Failure Clinic, 11(1), 149-172.

Fishbein, D. (2017). Acute decompensated heart failure: Presentation, physical exam, and laboratory evaluation. In H. Eisen (Ed.), Heart failure: A comprehensive guide to pathophysiology and clinical care (pp.171-193). London: Springer.

Haynes, A. & Henry, P. (2022). Cardiovascular disorders. In L. D. Urden, K. M. Stacy, & M. E. Lough, Critical care nursing: Diagnosis and management (9th ed.) (pp.298-368). Canada: Elsevier.

Jaarsma, T., Hill, L., Bayes-Genis, A., La Rocca, H-P. B., Castiello, T., Čelutkienė, J., Marques- Sule, E., … Strömberg, A. (2021). Self-care of heart failure patients: Practical management recommendations from the heart failure association of the european society of cardiology. European Journal of Heart Failure, 23(1), 157–174.

Kupper, N., Bonhof, C., Westerhuis, M. B., Widdershoven, J. & Denollet, J. (2016). Determinants of dyspnea in chronic heart failure. Journal of Cardiac Failure, 22(3), 201-209.

Lao, X. Q., Liu, X., Deng, H-B., Chan, T-C., Ho, K. F., Wang, F., … Yeoh, E-K. (2018). Sleep quality, sleep duration, and the risk of coronary heart disease: A prospective cohort study with 60,586 adults. Journal of Clinical Sleep Medicine, 14(1), 109-117.

Ledley, G. S., Ahmed, S., Jones, H., Rough, S. J., & Kurnik, P. (2017). Hemodynamics and heart failure. In H. Eisen (Ed.), Heart failure: A comprehensive guide to pathophysiology and clinical care (pp. 27-48). London: Springer.

Mancini, D. (2017). Exercise and patients with heart failure. In In H. Eisen (Ed.), Heart failure: A comprehensive guide to pathophysiology and clinical care (pp. 765-781). London: Springer.

Metra, M., & Teerlink, J. R. (2017). Heart failure. Lancet, 390, 1981-1995.

Nardar, S. K. & Shaikh, M. M. (2019). Biomarkers in routine heart failure clinical care. Cardiac Failure Review, 5(1), 50–56.

Pearse S. G., & Cowie M. R. (2014). Heart failure: Classification and pathophysiology. Medicine. 42(10): 556-561.

Phrommintikul, A., Buakhamsri, A., Janwanishstaporn S., Sanguanwong, S., & Suvachittanont, N. (2019). Heart Failure Council of Thailand (HFCT) 2019 heart failure guideline: Acute heart failure. Journal of the Medical Association of Thailand, 102(3), 373-379.

Shin, J. J., & Pina, I. L. (2017). Heart failure management and development of heart failure programs. In In H. Eisen (Ed.), Heart failure: A comprehensive guide to pathophysiology and clinical care (pp. 783-803). London: Springer.

University of Ottawa Heart Institute. (2018). Heart failure a guide for patients and families. Retrieved December 1, 2021, from https://www.ottawaheart. ca/document/heart-failure-guide-patients-and-families

Yamada, T., Hara, K., Shojima, N., Yamauchi, T., & Kadowaki, T. (2015). Daytime napping and the risk of cardiovascular disease and all-cause mortality: A prospective study and dose-response meta-analysis. Sleep, 38(12), 1945-1953.