การเกิดภาวะแทรกซ้อนและจำนวนวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับคอทางด้านหน้าและการเชื่อมข้อในสถาบันประสาทวิทยา

Main Article Content

อัญชลี ยศกรณ์

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเกิดภาวะแทรกซ้อนและจำนวนวันนอนโรงพยาบาลในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับคอทางด้านหน้าและการเชื่อมข้อ โดยศึกษาแบบย้อนหลังจากเวชระเบียนของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับคอทางด้านหน้าและการเชื่อมข้อ ในสถาบันประสาทวิทยา ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ถึง วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562 จำนวน 226 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 
ผลการศึกษาพบว่าเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดร้อยละ 65 ส่วนใหญ่คือภาวะท้องผูก และภาวะของระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำกว่าปกติ ร้อยละ 55.8 และ 11.9 ตามลำดับ ด้านภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี พบอาการคลื่นไส้อาเจียนและอาการเจ็บคอ ร้อยละ 16.4 และ 11.5 ตามลำดับ และพบว่ามีความผิดปกติของระบบต่าง ๆ ในร่างกายระหว่างการผ่าตัด ได้แก่ ปัญหาของระบบไหลเวียนของหัวใจและหลอดเลือด และระบบทางเดินปัสสาวะ ร้อยละ 34.5 และ 11.5  ตามลำดับ ในส่วนของจำนวนวันนอนโรงพยาบาล พบว่าโดยภาพรวมผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับคอทางด้านหน้าและการเชื่อมข้อหลายระดับ มีจำนวนวันนอนโรงพยาบาล ระหว่าง 2 - 45 วัน และมีค่าเฉลี่ยวันนอนโรงพยาบาล เท่ากับ 7.73 (SD=4.736 ) และผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังจำนวน 5 ระดับ มีจำนวนวันนอนโรงพยาบาล ระหว่าง 2 - 14 วัน และค่าเฉลี่ยวันนอนโรงพยาบาล เท่ากับ 8.27 (SD=3.003 )

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Bureau of Epidemiology Department of Disease Control Ministry of Public Health. (2011). Chronic Diseases Surveillance Report, 2012 Retrieved 12 June 2020 http://www.boe.moph .go.th/files/report/20140109_40197220.pdf

Bovonratwet, P., Fu, M. C., Tyagi, V., Bohl, D. D., Ondeck, N. T., Albert, T. J., & Grauer, J. N. (2019). Incidence, risk factors, and clinical implications of postoperative hematoma requiring reoperation following anterior cervical discectomy and fusion. Spine, 44(8), 543-549.

Debono, B., Corniola, M. V., Pietton, R.,

Sabatier, P., Hamel, O., & Tessitore, E. (2019). Benefits of enhanced recovery after surgery for fusion in degenerative

spine surgery: impact on outcome, length of stay, and patient Neurosurgical focus, 46(4), E6.

Desai, A., Ball, P. A., Bekelis, K., Lurie, J., Mirza, S. K., Tosteson, T. D., . . . Weinstein, J. N. (2012). Surgery for lumbar degenerative spondylolisthesis in SPORT: Does incidental durotomy affect outcome? Spine, 37(5), 406-413. doi:10. 1097/BRS.0b013e3182349bc5

Dial, B. L., Esposito, V. R., Danilkowicz, R., O’Donnell, J., Sugarman, B., Blizzard, D. J., & Erickson, M. E. (2020). Factors associated with extended length of stay and 90-day readmission rates following ACDF. Global spine journal,

(3), 252-260.

Epstein, N. E. (2019). A Review of Complication Rates for Anterior Cervical Diskectomy and Fusion (ACDF). Surg Neurol Int, 10, 1-8. doi:10.25259/SNI-191-2019

Inthira Roopsawang, Suparb Aree-Ue, & Putwatana, P. (2009). A Follow-Up Study of Health Status in Patients with Chronic Low Back Pain before and after Spinal Surgery. Rama Nurs J, 15(3), 344-360.

Knutsson, B., Michaelsson, K., & Sanden, B. (2013). Obesity is associated with inferior results after surgery for lumbar spinal stenosis: a study of 2633 patients from the Swedish spine register. Spine (Phila Pa 1976), 38(5), 435-441.doi:10.1097/BRS.0b013e 318270b243

Kovacs, F. M., Urrutia, G., & Alarcon, J. D. (2011). Surgery versus conservative treatment for symptomatic lumbar spinal stenosis: a systematic review of randomized controlled trials. Spine (Phila Pa 1976), 36(20), E1335-1351. doi:10.1097/BRS.0b013e31820c97b1

Malik, A. T., Khan, S. N., Kim, J., & Yu, E. (2019). 30-Day Postoperative Morbidity and Readmission Following Revision Anterior Cervical Discectomy and Fusion (ACDF). Clinical spine surgery, 32(10), 435-438.