บทความวิชาการพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา ที่มีภาวะระบบหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 สามารถติดต่อได้จากการสูดดมละอองฝอย น้ำมูก น้ำลายจากผู้ป่วยไอหรือจาม (Droplet) ในระยะประมาณ 1-2 เมตร ทางการแพร่กระจายเชื้อผ่านทางอากาศ (Air born) และทางการสัมผัสพื้นผิวหรือวัตถุที่ปนเปื้อนสารคัดหลั่ง (Contact) เชื้อสามารถมีชีวิตอยู่บนพื้นผิวแต่ละชนิดนานแตกต่างกัน ระยะฟักตัวตั้งแต่ได้รับเชื้ออยู่ในช่วงเวลา 2-14 วัน สำหรับผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีโรคประจำตัวอาจเกิดอาการรุนแรง ทำให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน (ARDS) จะมีอาการรุนแรงมากขึ้นภายใน 1 สัปดาห์ ลักษณะปอดทั้ง 2 ข้างเป็นฝ้าขาว (bilateral opacities) ปริมาณออกซิเจนในเลือดลดลง ร่างกายจะมีปริมาณไซโตไคน์ (Cytokine) สูง เรียกว่า ภาวะ Cytokine storm รักษาด้วยการให้ยาสเตียรอยด์และยาต้านไวรัส แต่ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้นหลังการให้ยา แพทย์เฉพาะทางด้านโรคไตอาจพิจารณาทำ Hemoperfusion ระยะเริ่มติดเชื้อ (early infection) พยาบาลควรให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง ระยะแสดงอาการทางปอด (pulmonary phase) พยาบาลสามารถประเมินความรุนแรงของระบบการหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน ระยะวิกฤต (Hyperinflammation phase) พยาบาลสามารถให้การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ ARDS ได้พยาบาลมีความสำคัญในการดูแลผู้ป่วยเป็นอย่างมากต้องมีทักษะ ความรู้และความชำนาญในการให้การพยาบาล เมื่อเกิดภาวะผิดปกติสามารถรายงานแพทย์ได้อย่างทันที
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาลถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวชิรสารการพยาบาล ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวชิรสารการพยาบาล หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวชิรสารการพยาบาลก่อนเท่านั้น
References
Privacy Legal Notice. Coronavirus disease Covid-19 pandemic [Internet]. 2022 [cited 2022 Feb 5]. Available from: https://www.who. int/ emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019
โรงพยาบาลบางประกอก. วิธีการสังเกตอาการโควิด-19 ได้ง่ายๆด้วยตัวเอง [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 6 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.bpksamutprakan.com/care_ blog/view/39
ธีรวิทย์ บุญราศรี. ตรวจซี-รีแอคทีฟ โปรตีน(C-Reactive Protein Test) [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://hellokhunmor.com/สุขภาพ/ การทดสอบทางการแพทย์/ตรวจซี-รีแอคทีฟ-โปรตีน/
อนุตรา รัตน์นราทร. ลักษณะทางคลินิกและภาพรังสีทรวงอกของผู้ป่วยโรคปอดอักเสบจากโควิด 19 สถาบันบาราศนราดูร วารสารควบคุมโรค ปีที่46 (4) หน้า540 [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci thaijo.org/index. php/ DCJ/article/download/243833/167118/884944
สมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย. แนวทางปฏิบัติในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคโควิด19 ชนิดรุนแรสำนักพิมพ์ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 22 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://tmc.or.th/covid19/download/pdf/
จารุณี ทรงม่วง. บทความทั่วไป: การพยาบาลผู้ป่วย Acute Respiratory Distress Syndrome. วารสารเวชบันทึกศิริราช. 2560; 10(3), 174-178.
World Health Organization. Q&A on coronaviruses(COVID-19). [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 12 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก:https://www.who.int/emergencies/ diseases/novel-coronavirus-2019/question- and-answers-hub/q-a-de-tail/q-a-coronaviruses
Yuki K, Fujiogi M, Koutsogiannaki S. COVID-19 pathophysiology: a review. Clin Immunol. 2020: 215:108427.
ไกลตา ศรีสิงห์. โรคโควิด19 [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 2 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.med.nu.ac.th/dpMed/fileKnowledge/247_2020-12-28.pdf
Sutherasan Y. The basics of COVID-19: the severe Covid patients. In: Staworn D, Piyavechvirat K, Morakul S, editors. COVID and crisis in critical care.Bangkok: The Thai Society of Critical Medicine; 2020. p. 37-41. (in Thai)
กัญญารัตน์ จิราสวัสดิ์. คู่มือป้องกันโรคปอดอักเสบจากการติดเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: บริษัท วารา พับลิชชิ่ง จำกัด; 2563. หน้า 25-26.
กระทรวงสาธารณสุข และหมอแล็บแพนด้า.ผลตรวจโควิด RT-PCR [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 1 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://news.trueid.net/detail/pZng JvdMz1WQ
ARDS Definition Task Force, Ranieri VM, Rubenfeld GD, Thompson BT, Ferguson ND, Caldwell E, et al. Acute respiratory distress syndrome: the Berlin Definition. JAMA.2012;307(23):2526-33.
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019 สถานการณ์ COVID-19ในประเทศ [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 17 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก:https://ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/
Raoof S, Nava S, Carpati C, Hill NS. How I Do It: High Flow, Non-invasive ventilation and awake (nonintubation) Proning in Covid-19 Patients with Respiratory Failure. Chest. 2020;158(5):1992-2002.
Menzella F, Barbieri C, Fontana M, Scelfo C, Castagnetti C, Ghidoni G, et al. Effectiveness of noninvasive ventilation in COVID‐19 related‐ARDS. Clin Respir J. 2021;00:1-9.
Menzella F, Barbieri C, Fontana M,Scelfo C, Castagnetti C, Ghidoni G, et al. Effectiveness of noninvasive ventilation in COVID-19 related-ARDS. Clin Respir J. 2021;00:1-9.
King CS, Sahjwani D, Brown AW, Feroz S, Cameron P, Osborn E, et al. Outcomes of mechanically ventilated patients with COVID-19 associated respiratory failure. PLos one. 2020;15(11):e0242651
นิธิพัฒน์ เจียรกุล. ประสบการณ์ของศิริราชในการระบาดของโควิด-19 ระลอกแรก. วารสารวัณโรค โรคทรวง อกและเวชบำบัดวิกฤต. [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 17 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก:https://thaichestjournal.org
สมรัก รังคกูลนุวัฒน์. Lung Recruitment in ALI/ARDS. [อินเตอร์เน็ต]. 2549 [เข้าถึงเมื่อ 14 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thai pedlung.org/topic/full/Lung_Recruitmentin_ALIARDS.pdf
โรงพยาบาลกรุงเทพ. ECMO พยุงหัวใจและปอดให้ผู้ป่วย COVID-19 [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.bangkokhearthospital.com/content/ecmo-covid-19
Filippo B, Federica M, Alessandro G, Riccardo P, Ileana A, Dario L. Nursing management of prone positioning in patients with Covid-19. Critical Care Nurse [Internet]. 2020 [cited 2022 September 16]. Available from: https://www.researchgate.net/ publication/347695129
Alireza Soleimani. The effect of hemoperfusion on the outcome, clinical and laboratory findings of patients with severe COVID-19: a retrospective study. (Medical Sciences, Kashan University, Kashan) [Internet]. 2020 [cited 2022 Aug 21]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/ articles/PMC8410636/pdf/main.pdf
กรุงเทพธุรกิจ. เปิดผลวิจัยวัคซีนโควิด-19 ทุกชนิด ช่วยรักษาชีวิตคนไทยไว้เกือบ 5 แสนคน [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 16 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก:https://www.bangkokbiznews. com/social/ 1015950