การพัฒนาความรอบรู้ด้านดิจิทัลของพยาบาลวิชาชีพ

Main Article Content

ศิริลักษณ์ ดีเลิศไพบูลย์
จาฬุฎา มาเมืองบน
สกฤษตา ตั้งกูลพิธพร
คัทรียา คุณคุณาเดช
อาภาภรณ์ ธนากรพรสวัสดิ์
จินตนคติ วรรณวิจิตร
อารีย์วรรณ อ่วมตานี

บทคัดย่อ

ปัจจุบันองค์การสุขภาพมีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนการให้บริการทางการแพทย์และการพยาบาลและมีแนวโน้มที่จะใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพิ่มมากขึ้น บุคลากรทางสุขภาพจึงต้องพัฒนาความสามารถในการเข้าถึงการวิเคราะห์และสร้างข้อมูลสารสนเทศและเนื้อหาสื่อได้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง ปลอดภัยและไม่ละเมิดกฎหมาย ซึ่งรวมเรียกว่า ความรอบรู้ด้านดิจิทัล  พยาบาลวิชาชีพเป็นหนึ่งในทีมสุขภาพที่จำเป็นต้องมีการพัฒนาความรอบรู้ด้านดิจิทัลเช่นกัน โดยต้องมีการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ความเข้าใจ
และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อนำไปสู่การให้บริการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล  ดังนั้นผู้บริหารทางการพยาบาลจึงควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาความรอบรู้ด้านดิจิทัลของพยาบาลวิชาชีพทั้งในส่วนของการสนับสนุนจากองค์การพยาบาลและการส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพมีการพัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ด้านดิจิทัล โดยการสร้างความตระหนักในความสำคัญของเทคโนโลยีดิจิทัล การวางแผนการพัฒนาความรอบรู้ด้านดิจิทัลของพยาบาลวิชาชีพในองค์การ การติดตามและประเมินผล เพื่อให้
เกิดการพัฒนางานการพยาบาล นวัตกรรมการพยาบาล และกระบวนการทำงานให้เป็นไปตามมาตรฐานและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการให้บริการทางการพยาบาล

Article Details

How to Cite
ดีเลิศไพบูลย์ ศ., มาเมืองบน จ., ตั้งกูลพิธพร ส. ., คุณคุณาเดช ค. ., ธนากรพรสวัสดิ์ อ. ., วรรณวิจิตร จ. ., & อ่วมตานี อ. . (2023). การพัฒนาความรอบรู้ด้านดิจิทัลของพยาบาลวิชาชีพ. วชิรสารการพยาบาล, 25(1), 70–79. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/vnj/article/view/262878
บท
บทความวิชาการ

References

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี(พ.ศ. 2561-2580). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ; 2562.

ฐิติยา เนตรวงษ์. เชื่อมต่อโลก: บทบาทของอินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่งในยุคโควิด-19. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา 2564; 6: 115-127.

อารี ชีวเกษมสุข. เทคโนโลยีดิจิทัลในการดูแลผู้ป่วย: สิ่งจำเป็นสำหรับพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอกในศตวรรษที่ 21. วารสารโรคหัวใจและทรวงอก 2564; 32: 2-12.

Lee TY, Sun GT, Kou LT, Yeh ML. The use of information technology to enhance patient safety and nursing efficiency. Technology and Health Care 2017; 25(5): 917-928.

Sampada SG, Raja VK. Role of Information Technology in Health Care. [database on the Internet]. 2014 [cited 2019 Oct 1]. Available from: https://www.researchgate. net/ publication/228549680.

World Health Organization and International Telecommunication Union. National eHealth Strategy Toolkit. Geneva: WHO Press, Switzerland; 2012.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. Digital Literacy คืออะไร. [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 2566 เมษายน 25]. เข้าถึง

ได้จากhttps://www.ocsc.go.th/DLProject/ mean-dlp.

Gilster P. Digital literacy. New York: John Wiley & Son; 1997.

UNESCO. Building Tomorrow’s Digital Skills: What Conclusions Can We Draw from International Comparative Indicator. Paris: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization; 2018.

UNESCO. Recommendations on Assessment Tools for Monitoring Digital Literacy within UNESCO’s Digital Literacy Global Framework. Paris: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization; 2019.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (พิมพครั้งที่4).กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน; 2562.

สำนักงานข้าราชการพลเรือน. โครงการการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้แก่ข้าราชการและ บุคลากรภาครัฐ. [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 2566 เมษายน 25]. เข้าถึงได้จากhttps://www.ocsc. go.th/ DLProject/mean-dlp.

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สรุปผลการสำรวจข้อมูลสถานภาพการ รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: สำนักงาน คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ; 2562.

Brown J, Pope N, Bosco AM, Mason J, Morgan A. Issues affecting nurses’ capability to use digital technology at work: an integrative review. J Clin Nurs 2020; 29(15-16): 2801-19. https://doi.org/10.1111/jocn.15321.

Khezri H, Abdekhoda M. Assessing nurses’ informatics competency and identifying its related factors. J Res Nurs 2019; 24(7): 529-38. doi:10.1177/1744987119839453.

Kleib M, Nagle L. Factors associated with Canadian nurses’ informatics competency. CIN: Computers, Informatics, Nursing 2018; 36(8): 406-15.doi: 10.1097/CIN.00000000000 00434.