โรงพยาบาลราชวิถี ครบรอบ 72 ปี (พ.ศ. 2494-2566)
Abstract
โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรนำด้านสุขภาพที่สำคัญต่อชาติ และมุ่งมั่นสู่การเป็นศูนย์การแพทย์ชั้นนำระดับนานาชาติ ในการก้าวมาจนเข้ามาสู่ปีที่ 72 ของโรงพยาบาลราชวิถี ซึ่งความเจริญทางเทคโนโลยี และการพัฒนาด้านสาธารณสุขที่ดำเนินต่อไป โรงพยาบาลราชวิถียังคงความยั่งยืน จากการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ที่มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ไว้ในบทบาทของศูนย์ความเป็นเลิศด้านการแพทย์ (Center of Excellence; COE) ที่สำคัญ 2 ด้านคือ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านโสต ศอ นาสิก และศูนย์ความเป็นเลิศด้านจอประสาทตา
References
คณะทำงานจัดทำแนวทางการคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดของประเทศไทย. คำแนะนำการคัดกรองการได้ยินทารกแรกเกิดของประเทศไทย พ.ศ.2562 กรุงเทพฯ: บริษัทออฟเซ็ท จำกัด; 2562.
สถิติเด็กที่มีภาวะการสูญเสียการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาระบบสารสนเทศการศึกษาพิเศษ และการศึกษาสงเคราะห์ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. [เข้าถึง 15 ตุลาคม 2565]เข้าถึงได้จาก http://special.obec.go.th/homepage.php
Tungvachirakul V, Boonmee S, Nualmoosik T, Kamjohnjiraphun J,Siripala W, Sanghiraun W, et al. Newborn Hearing Screening atRajavithi Hospital Thailand: hearing loss in infants not admittingin intensive care unit. J Med Assoc Thai 2011; 94: S108-12.
Joint Committee of Infant Hearing: American Academy ofAudiology; American of Pediatrics; American SpeechLanguage-Hearing Association; Directors of speech and HearingPrograms in State Health and Welfare Agencies Year 2007position statement principles and guideline for early hearingdetection and intervention programs. Pediatrics 2008; 120(4):898-921.
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีการใช้อุปกรณ์ชุดประสาทหูเทียม ในการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม พ.ศ.2565. ราชกิจจานุเบกษา 2565(มีนาคม); 139(51 ง):หน้า 3.
วิชัย เอกพลากร, หทัยชนก พรรคเจริญ, วราภรณ์ เสถียรนพเก้า. การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562-2563.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล; 2564.
Khalil H. Diabetes microvascular complications-A clinical update.Diabetes Metab Syndr. 2017;11 Suppl 1:S133-s9.
Leasher JL, Bourne RR, Flaxman SR, Jonas JB, Keeffe J, Naidoo K,et al. Global estimates on the number of people blind or visuallyimpaired by diabetic retinopathy: a meta-analysis from 1990to 2010. Diabetes Care 2016;39(9):1643-9.
Ruamviboonsuk P, Teerasuwanajak K, Tiensuwan M, Yuttitham K.Interobserver agreement in the interpretation of single-felddigital fundus images for diabetic retinopathy screening.Ophthalmology 2006;113(5):826-32.
Gulshan V, Peng L, Coram M, Stumpe MC, Wu D,Narayanaswamy A, et al. Development and validation of adeep learning algorithm for detection of diabetic retinopathyin retinal fundus photographs. JAMA 2016;316(22):2402-10.
Raumviboonsuk P, Krause J, Chotcomwongse P, Sayres R,Raman R, Widner K, et al. Deep learning versus human gradersfor classifying diabetic retinopathy severity in a nationwidescreening program. NPJ Digit Med 2019;2:25.
Ruamviboonsuk P, Tiwari R, Sayres R, Nganthavee V,Hemarat K, Kongprayoon A, et al. Real-time diabeticretinopathy screening by deep learning in a multisitenational screening programme: a prospective interventionalcohort study. Lancet Digit Health 2022;4(4): e235-e44.
Beede E, Baylor E, Hersch F, Iurchenko A, Wilcox L,Ruamviboonsuk P, et al. A human-centered evaluation of adeep learning system deployed in clinics for the detection ofdiabetic retinopathy. Proceedings of the 2020 CHI Conferenceon human factors in computing systems. 2020 Apr 21;1-12.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2023 Department of Medical Services, Ministry of Public Health
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการหรือของวารสารกรมการแพทย์