กุฏิชีวาภิบาล
Abstract
โรงพยาบาลสงฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เป็นสถาบันสุขภาพสงฆ์แห่งชาติ และแห่งเดียวในโลกที่เปิดให้บริการรักษาพยาบาลพระสงฆ์และสามเณรอาพาธจากทั่วประเทศ ดำเนินการเข้าสู่ปีที่ 73 ซึ่งมีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านโครงสร้าง อาคาร สถานที่ที่ทันสมัย รวมทั้งการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ และมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ไว้ในบทบาทของศูนย์ความเป็นเลิศด้านการแพทย์ (Center of Excellence; COE) ที่สำคัญ คือ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดบริการการดูแลพระสงฆ์สามเณรอาพาธแบบประคับประคอง (Palliative care)
References
กระทรวงสาธารณสุข.คู่มือดำเนินการตามนโยบายสถานชีวาภิบาล 2024. [อินเทอร์เน็ต] 2567 [เข้าถึงเมื่อ 2567 กุมภาพันธ์ 2] เข้าถึง ได้จาก https://cloud-atg.moph.go.th/quality/sites/ default/fles/คู่มือดำเนินการสถานชีวาภิบาลฉบับสมบูรณ์.pdf.
พระครูพิพิธสุตาทร (บุญช่วย สิรินธโร), พระมหาประยูร โชติวโร, นายวิสุทธิ บุญญะโสภิต, ทิพิชา โปษยานนท์, พินิจ ลาภธนานนท์, นงลักษณ์ ยอดมงคล และคณะ. ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ พุทธศักราช 2560. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพ แห่งชาติ (สช.); 2560.
พระภูวัต ภูริวฑฺฒโน. ความเป็นมาของวัดท่าประชุมโมเดล. [อินเทอร์เน็ต] 2566 [เข้าถึงเมื่อ 2567 กุมภาพันธ์ 8] เข้าถึงได้จาก https://wattaprachum-model.org/wp-content/uploads/ 2023/06/20230522_whitepaper_ compressed.pdf.
โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระวินัยปิฎก มหาวรรค [8. จีวรขันธกะ] เล่ม 5 หน้า 239-240. [เข้าถึงเมื่อ 2567 กุมภาพันธ์ 2] เข้าถึงได้จาก https://84000.org/ tipitaka/attha/attha.php?b=05&i=166
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 Department of Medical Services, Ministry of Public Health
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการหรือของวารสารกรมการแพทย์