การศึกษาย้อนหลังผลการใช้ยาสกัดกัญชาชนิด CBD สูงในการรักษาโรคลมชักรักษายากในเด็กประสบการณ์ในประเทศไทยจาก 2 สถาบันของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ผู้แต่ง

  • อาภาศรี ลุสวัสด์ิ พ.บ. กลุ่มงานกุมารประสาทวิทยา สถาบันประสาทวิทยา
  • ศิโรรัตน์ สุวรรณโชติ พ.บ. หน่วยประสาทวิทยา กลุ่มงานกุมารเวชศาสตร์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
  • ปาณิสรา สุดาจันทร์ พ.บ. กลุ่มงานกุมารประสาทวิทยา สถาบันประสาทวิทยา
  • สมจิต ศรีอุดมขจร พ.บ. หน่วยประสาทวิทยา กลุ่มงานกุมารเวชศาสตร์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
  • ชนิกานต์ ศรัทธาพร พ.บ. กลุ่มงานกุมารประสาทวิทยา สถาบันประสาทวิทยา
  • ธนินทร์ เวชชาภินันท์ พ.บ. หน่วยประสาทวิทยา กลุ่มงานกุมารเวชศาสตร์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี แ
  • กุลเสฏฐ ศักดิ์พิชัยสกุล พ.บ. หน่วยประสาทวิทยา กลุ่มงานกุมารเวชศาสตร์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

คำสำคัญ:

CBD เด่น, ลมชักดื้อยาในเด็ก

บทคัดย่อ

ภูมิหลัง:ประเทศไทยได้มีกฎหมายอนุญาตให้ใช้กัญชา ทางการแพทย์ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2562 และสามารถใช้ในรูปแบบ special assess schemeวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลและความ ปลอดภัยของยาสารสกัดกัญชาในผู้ป่วยโรคลมชักรักษายากในเด็ก ในประเทศไทยวิธีการ: ศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนาในผู้ป่วยโรค ลมชักรักษายากในเด็ก ที่สถาบันประสาทวิทยาและสถาบันสุขภาพ เด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์ ที่ได้รับยาสารสกัดกัญชา ชนิดซีบีดีสูง (CBD:THC ≥20:1) ตั้งแต่มิถุนายน 2562 ถึงธันวาคม 2563ผล: ผู้ป่วยโรคลมชักจำนวน 14 ราย ชาย 7ราย ค่ามัธยฐาน อายุที่เข้าร่วมวิจัย 9 ปี (พิสัย 3-27) จำนวนครั้งของอาการชัก 300 ครั้งต่อเดือน ได้รับยากันชักร่วมด้วยจำนวน 4 ชนิด (พิสัย 2-6) ค่ามัธยฐานขนาดสารซีบีดี และสารทีเอชซีทั้งหมด 5.6 และ 0.12 มก/กก/วัน หยุดยาทั้งหมด 5 ราย (ร้อยละ35) ส่วนใหญ่เนื่องจาก ชักมากขึ้นในช่วง 3 เดือนแรก (ร้อยละ28) ค่ามัธยฐานระยะเวลา ที่ผู้ป่วยที่เหลือ 9รายได้รับยาต่อเนื่องเท่ากับ 18 เดือน อัตราการ ตอบสนองชักชนิดconvulsive และชักทุกชนิดอย่างน้อยร้อยละ 50 เท่ากับร้อยละ50 และ 43 ตามลำดับ ร้อยละความถี่ต่อเดือนของ ชักชนิด convulsive และชักทุกชนิดลดลงหลังการรักษา 12 เดือน เท่ากับร้อยละ57.5 และ 67ตามลำดับ พบผลข้างเคียงในผู้ป่วยทุก รายและร้อยละ 47 ของจำนวนครั้งการติดตามการรักษา ที่พบบ่อย ได้แก่ ง่วงนอน ชักมากขึ้น อารมณ์หงุดหงิดและเบื่ออาหาร ร้อยละ 64, 43, 42 และ 28 ตามลำดับ ผลข้างเคียงรุนแรงได้แก่ อาการ ชักมากขึ้นต้องหยุดยา 4ราย ต้องนอนโรงพยาบาล 2 ราย ภาวะ ตับอักเสบ 1 รายคิดเป็นร้อยละ28,14 และ7 ตามลำดับ ผู้ป่วยที่ เริ่มยาซีบีดีขนาดสูงมีแนวโน้มชักเพิ่มขึ้นจนต้องหยุดยามากกว่า (p = 0.086) แต่ผู้ป่วยที่ได้ยาต่อเนื่องมีอัตราลดชักที่ 12 เดือน มากกว่ากลุ่มที่เริ่มยาขนาดต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.027)สรุป: ยาสารสกัดกัญชาชนิดซีบีดีสูงมีประสิทธิผลในการรักษาโรค ลมชักรักษายากในเด็กไทย และสามารถให้ต่อเนื่องอย่างน้อย 12 เดือน พบผลข้างเคียงบ่อยมากส่วนใหญ่ไม่รุนแรง ควรเริ่มยาขนาด ต่ำเพิ่มขนาดยาอย่างช้าๆและเฝ้าระวังผลข้างเคียงที่รุนแรงในช่วง 3 เดือนแรก

References

Kwan P, Arzimanoglou A, Berg AT, Brodie MJ, Allen Hauser W,Mathern G, et al. Definition of drug resistant epilepsy: consensus proposal by the ad hoc Task Force of the ILAE Commission on Therapeutic Strategies.Epilepsia 2010; 51: 1069–77.

Perrucca E. Cannabinoids in the Treatment of Epilepsy: Hard Evidence at Last? J Epilepsy Res 2017;7:61-76.

Devinsky O, Cross JH, Laux L, Marsh E, Miller I, Nabbout R, et al. Trial of cannabidiol for drug-resistant seizures in the Dravet syndrome. N Engl J Med 2017; 376:2011-20.

Devinsky O, Patel AD, Cross JH, Villanueva V, Wirrell EC, Privitera M, et al. Effect of Cannabidiol on Drop Seizures in the Lennox–Gastaut Syndrome. New Engl J Med 2018; 378: 1888–97.

Thiele EA, Marsh ED, French JA, Mazurkiewicz-Beldzinska M, Benbadis SR, Joshi C, et al. Cannabidiol in patients with seizures associated with Lennox-Gastaut syndrome (GWPCARE4):a randomised, double-blind, placebo-controlled phase 3 trial.Lancet 2018; 391: 1085–96.

Silvestro S, Mammana S, Cavalli E, Bramanti P, Mazzon E. Use of Cannabidiol in the Treatment of Epilepsy:Efficacy and Security in Clinical Trials. Molecule 2019;24:1459.

Pamplona FA, da Silva LR, Coan AC. Potential Clinical Benefits of CBD-Rich Cannabis Extracts Over Purified CBD in Treatment-Resistant Epilepsy: Observational Data Meta-analysis. Front Neurol 2018; 9:759.

The Narcotics Act (No. 7) B.E. 2562. [Internet]. 2020 [cited 2019 Mar 12]. Available from:http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/019/T_0001.PDF

Narcotics Control Division Food and Drug Administration, Ministry of Public Health (2019). Guidelines for applying for permission in selling narcotics in category 5, only marijuana for treatment in the case of modern medicine. Through the approval of the Narcotics Control Committee, 404-8th (2019), 19 July 2019.

Child Neurology Association (Thailand). Recommendation for using CBD-enriched medical cannabis in pediatric drug resistant epilepsy. In: Department of Medical Services, Ministry of Public Health (3rd revision):Guidance on Cannabis for Medical Use,Cucumber (Thailand) LTD.; 2020.

Ronen GM, Streiner DL, Rosenbaum P. Health-related quality of life in children with epilepsy: development and validation of self-report and parent proxy measures. Epilepsia 2003; 44:598-612.

Thiele E, Marsh E, Mazurkiewicz-Beldzinska M, Halford JJ, Gunning B, Devinsky O, et al. Cannabidiol in patients with Lennox-Gastaut syndrome: Interim analysis of an open-label extension study. Epilepsia 2019;60:419–28.

Gofshteyn JS, Wilfong A, Devinsky O, Bluvstein J, Charuta J,Ciliberto MA, et al. Cannabidiol as a Potential Treatment for Febrile Infection-Related Epilepsy Syndrome (FIRES) in the Acute and Chronic Phases. Child Neurol 2017; 32:35-40.

Szaflarski JP, Bebin EM, Comi AM, Patel AD, Joshi C, Checketts D, et al. Long-term safety and treatment effects of cannabidiol in children and adults with treatment-resistant epilepsies:Expanded access program results.Epilepsia 2018;59: 1540–48.

Cannabidiol oral solution (Epidiolex®) [Internet]. Carlsbad (CA): Greenwich Biosciences, Inc.; 2018 [cited 2018 Aug 10].Package insert. Available from: https://www.accessdata.fda.gov/drugsatfda_docs/label/2018/210365lbl.pdf

Huntsman RJ, Tang-Wai R, Alcorn J, Vuong S, Acton B, Corley S, et al. Dosage related efficacy and tolerability of cannabidiol in children with treatment-resistant epileptic encephalopathy:preliminary results of the CARE-E study. Front Neurol 2019:10:716.

Trembly B, Sherman M. Double-blind clinical study of cannabidiol as a secondary anticonvulsant. Proceedings of:marijuana ’90 international conference on cannabis and cannabinoids; 1990 July 8–11; Kolympari, Crete.International Association for Cannabinoid Medicines; 1990.

Tzadok M, Uliel-Siboni S, Linder I, Kramer U, Epstein O, Menascu S, et al. CBD-enriched medical cannabis for intractable pediatric epilepsy: The current Israeli experience. Seizure 2016; 35: 41-4.

Hausman-Kedem M, Menascu S, Kramer U. Efficacy of CBDenriched medical cannabis for treatment of refractory epilepsy in children and adolescents - An observational, longitudinal study. Brain Dev 2018;40: 544-51.

McCoy B, Wang L, Zak M, Al-Mehmadi S, Kabir N, Alhadid K, et al. A prospective open-label trial of a CBD/THC cannabis oil in dravet syndrome. Ann Clin Transl Neurol 2018;5: 1077-88.

Atakan Z. Cannabis, a complex plant: different compounds and different effects on individuals. Ther Adv Psychopharmacol 2012;2: 241–54.

Gaston TE, Bebin EM, Cutter GR, Liu Y, Szaflarski JP. Interactions between cannabidiol and commonly used antiepileptic drugs.Epilepsia 2017; 58:1586–92.

Sommerville K, Crockett J, Blakey GE, Morrison G. Bidirectional drug-drug interaction with co-administration of cannabidiol and clobazam in a phase 1 healthy volunteer trial. American Epilepsy Society Abstracts Database (Abst. 1.433). Available from: https://www.aesnet.org/meetings_events/ annual_meeting_abstracts/view/381188 Accessed May 7, 2018.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-11-2021

How to Cite

1.
ลุสวัสดิ์ อ, สุวรรณโชติ ศ, สุดาจันทร์ ป, ศรีอุดมขจร ส, ศรัทธาพร ช, เวชชาภินันท์ ธ, ศักดิ์พิชัยสกุล ก. การศึกษาย้อนหลังผลการใช้ยาสกัดกัญชาชนิด CBD สูงในการรักษาโรคลมชักรักษายากในเด็กประสบการณ์ในประเทศไทยจาก 2 สถาบันของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. J DMS [อินเทอร์เน็ต]. 30 พฤศจิกายน 2021 [อ้างถึง 2 เมษายน 2025];46(3):60-72. available at: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/JDMS/article/view/250456