การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ของการผ่าตัดผ่านกล้องเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดในการรักษานิ่วในถุงน้ำดี

ผู้แต่ง

  • อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์
  • อรุณี ไทยะกุล สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์
  • สุธาลักษณ์ ขวัญเจริญทรัพย์ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์
  • ณัฐธยา สง่า สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์
  • สุรวุฒิ ไผ่ประเสริฐ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
  • รัชมน ภิญโญเทพประทาน โรงพยาบาลราชวิถี
  • องอาจ วิจินธนสาร โรงพยาบาลเลิดสิน
  • ทวีชัย วิษณุโยธิน โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
  • ไพวิทย์ ศรีพัฒน์พิริยกุล โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
  • พิชัย พงศ์มั่นจิต โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
  • เฉลิมพล บุญมี โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ
  • วิบูลย์ ภัณฑบดีกรณ์ โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา
  • อรรณพ วิเศษชู โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา
  • วิริยะ กัลปพฤกษ์ โรงพยาบาลกำแพงเพชร
  • ยศ ตีระวัฒนานนท์ โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ

คำสำคัญ:

การประเมินทางเศรษฐศาสตร์, การผ่าตัดแบบเปิด, การผ่าตัดผ่านกล้อง, นิ่วในถุงน้ำดี

บทคัดย่อ

ภูมิหลัง: การผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีแบบผ่านกล้องเป็นที่นิยมแพร่หลายและมีประสิทธิผลมากกว่าแบบเปิดช่องท้อง แต่มีต้นทุนที่สูงกว่า วัตถุประสงค์: ประเมินต้นทุน-ประสิทธิผลของการผ่าตัดผ่านกล้องเปรียบเทียบกับแบบเปิดในการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดี วิธีการ: ประเมินทางเศรษฐศาสตร์แบบวิเคราะห์ต้นทุน-อรรถประโยชน์โดยใช้แผนภูมิการตัดสินใจ (decision tree) ในมุมมองผู้ให้บริการและทางสังคม โดยเก็บข้อมูลต้นทุนการผ่าตัดในโรงพยาบาล 9 แห่งค่าอรรถประโยชน์และตัวแปรต่างๆของการผ่าตัดทั้ง 2 วิธีได้จากการทบทวนวรรณกรรม ผล: ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดแบบเปิดมีต้นทุนเฉลี่ยต่อรายเป็นเงิน 11,185.42 บาทในมุมมองของผู้ให้บริการ และ 19,340.50 บาทในมุมมองทางสังคม ซึ่งน้อยกว่าแบบผ่านกล้องที่มีต้นทุนเฉลี่ยต่อรายเป็นเงิน 21,011.14 บาทในมุมมองของผู้ให้บริการ และ 23,963.60 บาทในมุมมองทางสังคม ผลต่างของต้นทุนระหว่างการผ่าตัดผ่านกล้องและการผ่าตัดแบบเปิดเป็นเงิน 9,825.72 บาทในมุมมองผู้ให้บริการ และ 4,623.10 บาทในมุมมองทางสังคม ค่าปีสุขภาวะ (quality adjusted life year; QALY) จากการทบทวนวรรณกรรมของการผ่าตัดผ่านกล้องเป็น 0.894 และการผ่าคัดแบบเปิดเป็น 0.800 อัตราส่วนต้นทุนส่วนเพิ่มต่ออรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (incremental cost-effectiveness ratio; ICER) เท่ากับ 104,528.94 บาทต่อปีสุขภาวะในมุมมองของผู้ให้บริการ และ 49,181.91 บาทต่อปี สุขภาวะในมุมมองของสังคม สรุป: การผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีแบบผ่านกล้องมีความคุ้มค่า เนื่องจากต้นทุนอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่มในมุมมองของสังคมมีค่าต่ำว่าเกณฑ์ความคุ้มค่าของประเทศไทยที่กำหนดไว้เท่ากับ 160,000 บาทต่อปีสุขภาวะ

References

Kercher KW, Heniford BT, Matthews BD, Smith TI, Lincourt AE,Hayes DH, et al. Laparoscopic versus open nephrectomy in 210consecutive patients: outcomes, cost, and changes in practicepatterns. Surg Endosc. 2003; 17:1889-95

Topal B, Peeters G, Verbert A, Penninckx F. Outpatientlaparoscopic cholecystectomy: clinical pathway implementationis effcient and cost effective and increases hospital bed capacity.Surg Endosc. 2007; 21: 1142-6.

Weeks JC, Nelson H, Gelber S, Sargent D, Schroeder G; ClinicalOutcomes of Surgical Therapy (COST) Study Group. Short-termquality-of-life outcomes following laparoscopic-assistedcolectomy vs open colectomy for colon cancer: a randomizedtrial. JAMA. 2002; 287:321-8.

Teerawattananon Y, Tancharoensathien V, Sriratana S,Rattanachuake T, Tanprayoon T, ratanaprisaan C, et al.Assessing the Cost-utility of Laparoscopic versus Conventionalopen Cholecystectomy: An Evidence for Public Reimbursementin Thailand. Journal of Health Science 2005; 14: 464-74.

McCormack K, Wake B, Perez J, Fraser C, Cook J, McIntosh E,Vale L, Grant A. Laparoscopic surgery for inguinal hernia repair:systematic review of effectiveness and economic evaluation.Health Technol Assess. 2005; 9:1-203.

Murray A, Lourenco T, de Verteuil R, Hernandez R, Fraser C,McKinley A, et al. Clinical effectiveness and cost-effectivenessof laparoscopic surgery for colorectal cancer: systematic reviewsand economic evaluation. Health Technol Assess. 2006; 10:1-141.

Thai Health Technology Assessment Guideline. 2ed, 2013.

Zacks SL, Sandler RS, Rutledge R, Brown RS Jr. A populationbased cohort study comparing laparoscopic cholecystectomyand open cholecystectomy. Am J Gastroenterol. 2002; 97:334-40.

Kesteloot K, Penninckx F. The costs and effects of open versuslaparoscopic cholecystectomies. Health Econ. 1993; 2:303-12.

Bass EB, Pitt HA, Lillemoe KD. Cost-effectiveness of laparoscopiccholecystectomy versus open cholecystectomy. Am J Surg. 1993;165:466-71.

Lombardo S, Rosenberg JS, Kim J, Erdene S, Sergelen O,Nellermoe J, Finlayson SR, Price RR. Cost and outcomes of openversus laparoscopic cholecystectomy in Mongolia. J Surg Res.2018 Sep;229:186-191.

McKellar DP, Johnson RM, Dutro JA, Mellinger J, Bernie WA,Peoples JB. Cost-effectiveness of laparoscopic cholecystectomy.Surg Endosc. 1995; 9:158-62.

Sutherland JM, Mok J, Liu G, Karimuddin A, Crump T. A Cost-UtilityStudy of Laparoscopic Cholecystectomy for the Treatment ofSymptomatic Gallstones. J Gastrointest Surg. 2020; 24:1314-19.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-03-2023

How to Cite

1.
ศรีสุบัติ อ, ไทยะกุล อ, ขวัญเจริญทรัพย์ ส, สง่า ณ, ไผ่ประเสริฐ ส, ภิญโญเทพประทาน ร, วิจินธนสาร อ, วิษณุโยธิน ท, ศรีพัฒน์พิริยกุล ไ, พงศ์มั่นจิต พ, บุญมี เ, ภัณฑบดีกรณ์ ว, วิเศษชู อ, กัลปพฤกษ์ ว, ตีระวัฒนานนท์ ย. การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ของการผ่าตัดผ่านกล้องเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดในการรักษานิ่วในถุงน้ำดี. J DMS [อินเทอร์เน็ต]. 27 มีนาคม 2023 [อ้างถึง 9 เมษายน 2025];48(1):93-103. available at: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/JDMS/article/view/251955