อัตราการอยู่รอดของรากฟันเทียมไทย (ฟันยิ้ม) ที่รองรับฟันเทียมทั้งปากของโครงการรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯ ในผู้ป่วยสูงอายุที่สถาบันประสาทวิทยา

ผู้แต่ง

  • สุวลี ถาวรรุ่งโรจน์ ท.บ. กลุ่มงานทันตกรรม สถาบันประสาทวิทยา

คำสำคัญ:

รากฟันเทียมไทย, รากฟันเทียมที่รองรับฟันเทียมทั้งปาก, โครงการรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯ, ฟันยิ้ม

บทคัดย่อ

ภูมิหลัง: เนื่องจากโครงการรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เป็นโครงการ รากฟันเทียมไทยรากแรกที่ถูกพัฒนาและผลิตขึ้นมาโดยคนไทยวัตถุประสงค์: การศึกษานี้ต้องการประเมินอัตราการอยู่รอดของ รากฟันเทียมไทย (ฟันยิ้ม) ที่รองรับฟันเทียมทั้งปาก ของโครงการ รากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯในผู้ป่วยสูงอายุที่สถาบันประสาท วิทยาที่ฝังและบูรณะตั้งแต่ พ.ศ. 2552-2555 รวมระยะการฝัง รากฟันเทียม 8-11 ปีวิธีการ: เก็บรวบรวมข้อมูลของรากฟันเทียม จำนวน 468 รากจากผู้ป่วยจำนวน 234 ราย ตัวแปรทางคลินิกที่ บันทึกได้แก่ ดัชนีการมีเลือดออก ดัชนีสภาพเหงือก ความลึกร่อง ปริทันต์ การโยกของรากฟันเทียม และการละลายตัวของกระดูก รอบรากฟันเทียมจากภาพถ่ายรังสีผล: แสดงค่าดัชนีการมีเลือด ออกเป็นค่ามัธยฐาน 0.00 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ 0.00-1.00 ดัชนี สภาพเหงือกเป็นค่ามัธยฐาน 0.00 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ 0.00- 1.00 ความลึกร่องปริทันต์เป็นค่ามัธยฐาน 1.00 ค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ 1.00-2.00 รากฟันเทียมโยกพบร้อยละ 2.8 ไม่พบการ ละลายตัวของกระดูกร้อยละ 53 พบการละลายตัวของกระดูก น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 36.8 พบการละลายตัว ของกระดูกร้อยละ 25-50 เป็นร้อยละ 8.5 และพบการละลายตัว ของกระดูกมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50 เป็นร้อยละ 1.7 อัตรา การอยู่รอดของรากฟันเทียมเป็นร้อยละ 94.6สรุป: อัตราการอยู่ รอดของรากฟันเทียมไทย (ฟันยิ้ม) ที่รองรับฟันเทียมทั้งปาก ของ โครงการรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯในผู้ป่วยสูงอายุที่สถาบัน ประสาทวิทยาเป็นร้อยละ 94.6

References

Assad AS, Abd El-Dayem MA, Badawy MM. Comparison between mainly mucosa-supported and combined mucosa-implantsupported mandibular overdentures. Implant Dent 2004;13:386-94.

Chan MF, Johnston C, Howell RA, Cawood JI. Prosthetic management of the atrophic mandible using endosseous implants and overdentures: a six year review. Br Dent J 1995;179:329-37.

Naert I, Alsaadi G, Quirynen M. Prosthetic aspects and patient satisfaction with two-implant-retained mandibular overdentures:a 10-year randomized clinical study. Int J Prosthodont 2004;17:401-10.

Tallgren A. The continuing reduction of the residual alveolar ridges in complete denture wearers: a mixed-longitudinal study covering 25 years. J Prosthet Dent 1972; 27:120-32.

Sadowsky SJ. The implant-supported prosthesis for the edentulous arch: design considerations. J Prosthet Dent 1997;78:28-33.

Cordioli G, Majzoub Z, Castagna S. Mandibular overdentures anchored to single implants: a five-year prospective study. J Prosthet Dent 1997; 78:159-65.

Gotfredsen K, Holm B. Implant-supported mandibular overdentures retained with ball or bar attachments: a randomized prospective 5-year study. Int J Prosthodont 2000;13:125-30.

Albrektsson T, Isidor F. Consensus report of session IV. In: Lang NP, Kerring T, eds. Proceeding of the first European workshop on periodontology. Germany: Quintessence Publishing; 1994.

Ten Bruggenkate CM, van der Kwast WA, Oosterbeek HS. Success criteria in oral implantology. A review of the literature. Int J Oral Implantol 1990; 7:45-51.

Misch CE, Perel ML, Wang HL, Sammartino G, Galindo-Moreno P, Trisi P, et al. Implant success, survival, and failure: the International Congress of Oral Implantologists (ICOI) Pisa Consensus Conference. Implant Dent 2008;17:5-15.

Lang NP, Berglundh T, Heitz-Mayfield LJ, Pjetursson BE, Salvi GE, Sanz M. Consensus statement and recommended clinical procedures regarding implant survival and complications. Int J Oral Max Impl 2004;19:150-54.

Mombelli A, van Oosten MA, Schurch E Jr, Land NP. The microbiota associated with successful or failing osseointegrated titanium implants. Oral Microbiol Immunol 1987;2:145-51.

Loe H. The gingival index, the plaque index and the retention index system. J Periodontol 1967;38: 610-6.

Moraschini V, Poubel LA, Ferreira VF, Barboza Edos S. Evaluation of survival and success rates of dental implants reported in longitudinal studies with a follow-up period of at least 10 years:a systematic review. Int J Oral Maxillofac Surg 2015;44:377-88.

Berglundh T, Persson L, Klinge B. A systematic review of the incidence of biological and technical complications in implant dentistry reported in prospective longitudinal studies of at least 5 years. J Clin Periodontol 2002;29:197-212.

Roos-Jansaker AM, Lindahl C, Renvert H, Renvert S. Nine-to fourteen-year follow-up of implant treatment. Part I: implant loss and associations to various factors. J Clin Periodontol 2006;33:283-9.

Roos-Jansaker AM, Lindahl C, Renvert H, Renvert S. Nine-to fourteen-year follow-up of implant treatment. Part II: presence of peri-implant lesions. J Clin Periodontol 2006;33:290-5.

Roos-Jansaker AM, Renvert H, Lindahl C, Renvert S. Nine-to fourteen-year follow-up of implant treatment. Part III: factors associated with peri-implant lesions. J Clin Periodontol 2006;33:296-301.

Roccuzzo M, De Angelis N, Bonino L, Aglietta M. Ten-year results of a three-arm prospective cohort study on implants in periodontally compromised patients. Part 1: implant loss and radiographic bone loss. Clin Oral Implants Res 2010; 21:490-6.

Humphrey S. Implant maintenance. Dent Clin N Am 2006;50:463-78.

Palmer RM, Pleasance C. Maintenance of osseointegrated implant prostheses. Dent Update 2006;33:84-92.

Duyck J, Naert I. Failure of oral implants: aetiology, symptoms and influencing factors. Clin Oral Investig 1998;2:102-14.

Goodacre CJ, Bernal G, Rungcharasseng K, Kan JY. Clinical complications with implants and implant prostheses. J Prosthet Dent 2003; 90:121-32.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-11-2021

How to Cite

1.
ถาวรรุ่งโรจน์ ส. อัตราการอยู่รอดของรากฟันเทียมไทย (ฟันยิ้ม) ที่รองรับฟันเทียมทั้งปากของโครงการรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯ ในผู้ป่วยสูงอายุที่สถาบันประสาทวิทยา . J DMS [อินเทอร์เน็ต]. 30 พฤศจิกายน 2021 [อ้างถึง 27 เมษายน 2025];46(3):29-34. available at: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/JDMS/article/view/255023