Knowledge related to the safety behavior of wood furniture employee at Nonkor Sub-district, Sirindhorn District, Ubon Ratchathani Province

Main Article Content

ชนิสรา สังฆะศรี
ชญานนท์ พิมพบุตร
นิธิ ปรัสรา
ภคิน ไชยช่วย

Abstract

The objective of this Cross-sectional Analytical Study Design research was to study knowledge related to the safety behavior of wood furniture employee at Nonkor Sub-district, Sirindhorn District, Ubon Ratchathani Province, samples of 170 wood furniture employee were chosen by simple random sampling. The instrument used for data collection was the questionnaire constructed by the researcher. Data were analyzed by using percentage, mean and standard deviation, Chi-square. The results of the study were as following; the knowledge that had significantly related to safety behavior of wood furniture. The safety behaviors of wood furniture were at the good level. The uses of personal protective equipment were at the high level. The knowledge was at the high level. So there should be promoting knowledge continuously. The group also had low knowledge.  With increased knowledge. The knowledge that affects the wood furniture workers with a good safety behavior.

Article Details

How to Cite
สังฆะศรี ช., พิมพบุตร ช., ปรัสรา น., & ไชยช่วย ภ. (2017). Knowledge related to the safety behavior of wood furniture employee at Nonkor Sub-district, Sirindhorn District, Ubon Ratchathani Province. Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences, 1(1), 81–96. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/JRIHS/article/view/171157
Section
Research Article

References

กระทรวงสาธารณสุข. กรมอนามัย. สถานการณ์ด้านสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ภาค 1 สถานการณ์ และแนวโน้มของปัญหาสุขภาพ ในแต่ละกลุ่มอายุ. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://advisor.anamai.moph.go.th/main.php?filename=env105

กาญจนา พุทธานุรักษ์. (2539). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานของคนงานก่อสร้างในจังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาการพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

กวิณช์ตา อภิชนาดล. (2546). พฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุในการทำงานของคนงานโรงงานทำเฟอร์นิเจอร์ไม้ พื้นที่เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

กิตติพงษ์ มาพงษ์. (2556). ความรู้ ทัศคติ และพฤติกรรมการป้องกันฝุ่นละอองของคนงานในรัฐวิสาหกิจชุมชนกลุ่มหัตถกรรมรากไม้ตอไม้บ้านบากชุม ตำบลโนนก่อ อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี. ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. สถิติอุตสาหกรรมปี 2556. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://www.diw.go.th/hawk/content.php?mode=spss57

จารุนิล ไชยพรม. (2556). ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบเฟอร์นิเจอร์ไม้ อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลอาชีวอนามัย, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เทิดศักดิ์ ศรีสุขพันธ์, สุรดา สดลอย, อัญชลี การดี. (2557). การศึกษาการรับรู้ความปลอดภัยต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานกรณีศึกษา:บริษัท ผลิตภัณฑ์พลาสติก เขตจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ชินโอสถ หัสบำเรอ, เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์, ชัยยะ พงษ์พานิช. (2539). ความปลอดภัยจากการทำงาน. ใน กิตติ วัฒนกุล (บรรณานุการ). เอกสารการสอนชุดวิชาอาชีวอนามัย (หน่วยที่1-7). พิมพ์ครั้งที่ 12 . นนทบุรี:สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ธรรมรักษ์ ศรีมารุต. (2555). พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติงานผ่ายผลิต. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา.

นินนาท อ่อนหวาน. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุในการทำงานของผู้ใช้แรงงานก่อสร้างในบริษัทรับเหมาในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมและการบริหารการก่อสร้าง, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ปรัชญา ไชยอินคำ. (2556). ปัจจัยต่อการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
พงศกร อินจับ. (2549). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการทำงานของพนักงาน บริษัทเอกชนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พรรณี ธนาพล. (2542). พฤติกรรมสุขภาพของผู้ใช้แรงงานในโรงงานเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพารา ในอำเภอแกลง จังหวัดระยอง. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พรทิพย์ แก้วจันทร์. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยจากการฝึกวิชาชีพช่างไม้ของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ภัทรทิยา กิจจิว. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารและเครื่องดื่ม เขตอำเภอสามพราน นครปฐม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแก่งศรีโคตร. (2559). รายงานผู้ป่วยนอก 21 กลุ่มโรค (รง.504).

รัศลี จอประยูร. (2551). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน บริษัท คาร์ตัน ออปทิคัล (สยาม) จำกัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.

สมถวิล เมืองพระ. (2537). การศึกษาพฤติกรรมอนามัยของคนงานในระดับปฏิบัติการการป้องกันอุบัติเหตุเนื่องจากการทำงาน : ศึกษาเฉพาะกรณีอุตสาหกรรมการผลิตภัณฑ์จากโลหะเครื่องจักรและอุปกรณ์ เขตอำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ ศาสตรบัณฑิต สาขาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เอกรินทร์ พงคจีทิพา. (2547). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงาน :กรณีศึกษา บริษัท โรห์มแอนส์ฮาสส์เคมิคอล ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบันฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.