การพัฒนาแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ในผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลจิตเวช

Main Article Content

ขนิษฐา สนเท่ห์ , พย.ม.
วัชนี หัตถพนม, พย.ม.
ไพรวัลย์ ร่มซ้าย, พย.ม.
จิตภินันท์ โชครัศมีหิรัญ, พย.ม.

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: 1) เพื่อพัฒนาแบบประเมินความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล จิตเวช และ 2) ศึกษาความแม่นตรงระหว่างแบบประเมินที่พัฒนาขึ้นกับแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้ำง Mini International Neuropsychiatric Interview (M.I.N.I.) Module C (suicidality)
วัสดุและวิธีการ: เป็นการวิจัยและพัฒนา แบ่งการศึกษาเป็น 3 ระยะ คือ 1) การประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อพัฒนาเครื่องมือ 2) ศึกษาความตรงตามเนื้อหาและทดสอบภาษา 3) ศึกษาความตรงตาม โครงสร้างการจำแนกระดับความเสี่ยงและศึกษาความแม่นตรงกับเครื่องมือมาตรฐาน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยจิตเวชที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลจิตเวชตามคุณสมบัติที่กำหนดจำนวน 165 คน การศึกษาความ ตรงตามโครงสร้าง การจำแนกระดับความเสี่ยงโดยใช้สถิติ factor analysis สถิติเชิงพรรณนา และ Cronbach’s alpha coefficient ศึกษาความแม่นตรงกับเครื่องมือมาตรฐานด้วยสถิติ Spearman’s rank correlation coefficient ระยะเวลาศึกษา มีนาคม 2557–กันยายน 2558
ผล: แบบประเมินมี 12 ข้อ 4 องค์ประกอบ แบ่งระดับความเสี่ยงเป็น 4 ระดับ คือมาก (15 คะแนนขึ้นไป) ปานกลาง (7-14 คะแนน) เล็กน้อย (1-6 คะแนน) และไม่เสี่ยง (0 คะแนน) จุดตัดที่เหมาะสม คือ 1 คะแนนค่าความไวร้อยละ 90.40 ความจำเพาะ ร้อยละ 87.50 ความถูกต้องของการทดสอบ ร้อยละ 89.70 แบบประเมินมีความสัมพันธ์กับ M.I.N.I. ในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทำงสถิติ (p<0.001)ค่าความเชื่อมั่น = 0.81
สรุป: แบบประเมินที่ได้จากการพัฒนามีความตรง น่าเชื่อถือ และง่ายต่อการนำไปใช้เฝ้ำระวังความเสี่ยง ต่อกำรฆ่าตัวตายในหอผู้ป่วยจิตเวช

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

WHO.World Report on Violence and Health. Geneva: WHO; 2002.

Gelder M, Gath D, Mayou R, Cowen P. Oxford textbook of Psychiatry.5thed. Oxford University Press release; 2006.

สุชาติ พหลภาคย์. ความผิดปกติทางอารมณ์. ขอนแก่น: โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์ออฟเซ็ท; 2542.

Lorenzo RD, Fiorini F, Simoni E, Mimmi S, Rigatelli, Rigatelli M. Suicide and other causes of death in the psychiatric patients of a mental health service over 5 year period. International Neuropsychiatric Disease Journal 2013; 1(1): 46-63.

Novick D, Haro J, Suarez D, Perez V, Dittmann R, and Haddad P. Predictors and clinical consequences of non-adherence with antipsychotic medication in the outpatient treatment of schizophrenia. Psychiatry Res. 2010; 176: 109-13.

โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์.รายงานผลการปฏิบัติงานประจําปีงบประมาณ 2556. ขอนแก่น:

Fawcett J. Treating impulsivity and anxiety in the suicidal patient. Ann N Y Acad Sci 2001; 932(1): 94-102.

Powell J, Geddes J, Deeks J, Goldcare M, HawtonaK. Suicide in psychiatric hospital inpatients: Risk factors and their predictive power. Br J Psychiatry 2000; 176: 266-72.

Lieberman D, Resnik H, Holder-Perkins V. Environmental risk factors in hospital suicide. Suicide and Life-Threatening Behavior. 2004; 34(4): 448-53.

Temkin TM, Crotty M. Suicide and other risk monitoring in inpatient psychiatry. J Am Psychiatr Nurses Assoc. 2004;10(2): 72-80.

Registered Nurses’ Association of Ontario (RNAO).(2007) Assessment and care of adults with suicide ideationand behavior. [ Internet ] 2007 Retrieved from http//www.rnao.org/ .Storage/58/5263_Suicide_-Final-web.pf. [10 Sep 2014].

พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, มธุรินทร์ คําวงศ์ปัน. ความตรงของเครื่องมือวินิจฉัยโรคทางจิตเวช Mini International Neuropsychiatric Interview (M.I.N.I.) ฉบับภาษาไทย. วารสาร สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2548; 13(3): 125-35.

โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์.แนวทางการดูแลรักษาผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (Clinical Practice Guideline for Suicide Problem). ขอนแก่น: โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราช นครินทร์; 2555.

บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ, มานิต ศรีสุรกานนท์, ชัชวาลย์ ศิลปกิจ, ศุภสิทธิ์ พรรณนารุโนทัย ,พิเชษฐ อุดมรัตน์, อลัน กิเตอร์, และคณะ. Reliability and validation of Thai Version of the Health of the Nation Outcome Scale (HoNOS).จดหมายเหตุทางการแพทย์ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 2550; 90(11): 2487-93.

Streiner DL, Norman GR. Health measurement scales: A practical guide to their development and use.4thed . Oxford: Oxford University Press; 2008.

Lynn MR. Determination and quantification of content validity. Nursing Research1986;35: 382-85.

Polit DF, Beck CT. The content validity index: are you sure you know what’s being reported? Critique and recommendations. Res Nurs Health 2006: 29(5): 489-97.

Beck AT, Steer RA. Manual for the Beck scale for suicide ideation. San Antonio, TX: Psychological Corporation; 1991.

Firestone RW, Firestone LA. Firestone assessment of self-destructive thought. San Antonio, TX: Psychological Corporation; 1996.

Cutcliffe JR, Barker P. The nurses’ global assessment of suicide risk: developing a tool for clinical practice. J Psychiatr Ment Health Nurs 2004; 11: 393-400.

Bjorkdahl A, Nymberg D, Runeson B, Omerov P. The development of the suicidal patient observation chart (SPOC): Delphi study. J Psychiatr Ment Health Nurs 2011; 18:558-561.

บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. ระเบียบวิธีการวิจัยทางการพยาบาลศาสตร์: The methodology in nursing research. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: ยูแอนด์ไอ อินเตอร์มีเดีย, 2553.

Pett MA, Lackey NR, Sullivan JJ. Making sense of factor analysis the use of factor analysis for instrument development in health care research. United Stated of America: Sage Publications, Inc; 2003.

มาโนช หล่อตระกูล. การฆ่าตัวตาย: การรักษาและการป้องกัน. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์เอนเทอร์ไพรซ์; 2553.

ประภาส อุครานันท์, อภิชัย มงคล, ทวี ตั้งเสรี, วัชนีหัตถพนม, ไพรวัลย์ ร่มซ้าย, ไพลิน ปรัชญคุปต์. การพัฒนาแบบคัดกรองผู้ที่สี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย(SU-9). ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา; 2555.

กัลยา วานิชย์บัญชา. สถิติสําหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร; 2553.

Fowler J, Jarvis P, Chevannes M. Practice statistics for nursing and health care. New York:

Beck AT, Schuyler D, Herman I. Development of suicidal intent scales. In: Beck AT, ResnikHLP, Lettieri DJ. editors. The prediction of suicide. Bowie, MD: Charles Press; 1974.

จิราพร เขียวอยู่. วิธีสถิติสําหรับการวัดด้านสุขภาพ statistical Methods for Health Measurement. ขอนแก่น: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 2557.

Altman DG, Bland JM. Diagnostic test. 1: Sensitivity and specificity. Br Med J. 1994; 308: 1552.