This is an outdated version published on 26-07-2022. Read the most recent version.

- ผลของการให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผนต่อความเครียดและความพึงพอใจของผู้ดูแลเด็กภาวะวิกฤต

-

ผู้แต่ง

  • Nipaporn Chuanarram Chonburi hospital

คำสำคัญ:

การให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผน, ความเครียด, ความพึงพอใจ, ผู้ดูแลเด็กภาวะวิกฤต

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผนต่อความเครียดและความพึงพอใจของผู้ดูแลเด็กภาวะวิกฤต คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง 40 ราย โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 ราย กลุ่มทดลองได้รับข้อมูลอย่างมีแบบแผนร่วมกับการได้รับข้อมูลปกติ กลุ่มควบคุมได้รับข้อมูลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผน และคู่มือ“ทำอย่างไรเมื่อลูกเข้าไอซียู” 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ดูแลเด็กและผู้ป่วยเด็ก 3) แบบสอบถามความเครียดของผู้ดูแลเด็กภาวะวิกฤต และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ดูแลเด็กภาวะวิกฤต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติที ผลการวิจัยพบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยความเครียดของผู้ดูแลเด็กภาวะวิกฤตหลังการทดลองของกลุ่มทดลอง (M=2.37, SD=0.32) ต่ำกว่ากลุ่มควบคุม (M=3.27, SD=0.34) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=8.66, p<.05) และมีค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจหลังการทดลองของกลุ่มทดลอง (M=4.36, SD=0.29) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M=3.53, SD=0.39) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ   (t=7.72,  p<.05)

จากผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผนสามารถลดความเครียดและช่วยสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ดูแลเด็กภาวะวิกฤตได้ ดังนั้นพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักกุมารเวชกรรมควรนำแผนการให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผนไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล

References

จงใจ จงอร่ามเรือง, เรณู พุกบุญมี และศรีสมร ภูมนสกุล. (2557). ผลของการพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายแบบองค์รวมต่อความสุขสบายของผู้ป่วย

เด็กภาวะวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจตามการรับรู้ของผู้ดูแล. กุมารเวชสาร, 21(3), 7-12.

Slota, M. C. (2006). Core curriculum for pediatric critical care nursing. St. Louis: Saunders Elsevier.

นงลักษณ์ จินตนาดิลก. (2551). การพยาบาลด้านจิตสังคมในผู้ป่วยเด็ก. ใน บัญจางค์ สุขเจริญ, วิไล เลิศธรรมเทวี, ฟองคำ ติลกสกุลชัย และศรีสมบูรณ์

มุสิกสุคนธ์. ตำราการพยาบาลเด็กเล่ม 1. กรุงเทพฯ: พรี-วัน.

Wong, D. L., Perry, S. E., & Hockenberry, M. J. (2015). Maternal child nursing care (10th ed). St. Louis: C. V. Mosby.

Board, R., & Wenger-Ryan, N. (2003). Stressors and stress symptoms of mothers with children in the PICU. Journal of Pediatric Nursing,

(3), 195-200.

Curley, M. A. Q., & Moloney-Harmon. P.A. (2001). Critical care nursing of infants and children (2nd ed). New York: Saunders.

Ward-Begnoche, W. (2007). Posttraumatic stress symptoms in the pediatric intensive care unit. Journal for Specialists in Pediatric

Nursing, 12(2), 84-92.

Melynk, B. M., Small, L., & Carno, A. A. (2004). The effectiveness of parent-focused interventions in improving coping/ mental health

outcimes of critically ill children and their parents: An evidence base to guide clinical practice. Pediatric Nursing, 30(2),

-148.

Bos, A. P., Grootenhuis, M. A., & Knoester, H. (2007). Outcome of paediatric intensive care survivors. European Journal of Pediatrics,

(11), 1119-1128.

Miles, M. S., Carter, M. C., Eberly, T. W., Hennessey, J., & Riddle, I. I. (1989). Toward an understanding of parent stress in the pediatric

intensive care unit: Overview of the program of research. Maternal-Child Nursing Journal, 18(3), 181-185.

Memaj, M. A., & Agolli, I. (2015). Reflection and experiences of parent during hospitalization of children and support provided by staff

at the pediatric hospital of Tirana. Journal of Education and Social Research, 5(3), 251-254.

กฤติญาดา เกื้อวงศ์. (2563). โควิด-19: แนวปฏิบัติการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยเด็ก. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 43(4), 1-11.

Millet, J. D. (2012). Management in the publics service: The quest for effective performance. New York: Mcgraw-Hill Book Compan.

House, J. S. (1981). Work stress and social support. California: Addison-Wesley.

Kaewpram, P., Thampanichawat, W., Payakkaraung, S. (2014). The relationship between perceived importance of information,

understanding of information and anxiety of parents of children in recovery phase after cardiac surgery. Journal Nursing

Science, 32(3), 85-92.

Puntanit, U. (2018). Concept of pediatric critical care nursing. In: Musiksukont S, Diloksakulchai F, Lerthamtewe W, et al., editors.

Pediatric nursing (2nd ed). Bangkok: Sahamit Printing and Publishing.

บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2553). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่5). กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไออินเตอร์ มีเดีย.

นิตยา อิสรโชติ, มยุรี นภาพรรณสกุล และบุษกร พันธ์เมธาฤทธิ์. (2557). ผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของมารดาในการดูแลเด็กป่วยต่อความเครียดของมารดา

เด็กป่วยหอผู้ป่วยหนักกุมารเวชกรรม. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, การพยาบาลเด็ก, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

กุหลาบ หาญณรงค์ พรทิพา ศุภราศรี และกรกฏ เจริญสุข. (2551). ความต้องการและการตอบสนองความต้องการของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคระบบทางเดิน

หายใจ. รายงานการวิจัย, งานผู้ป่วยในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชลบุรี.

สุชญาดา ขุนเสถียร, วรรณา อาราเม, ปราณี ทองใส และถาวร ทรัพย์ทวีสิน. (2555). ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลในมารดา/ ผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจพิการแต่

กำเนิดในภาวะวิกฤตภายหลังการผ่าตัด. วารสารพยาบาลศิริราช, 5(1), 1-13.

ธิดารัตน์ ทองหนุน และวีณา จีระแพทย์. (2559). ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ด

เลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว. วารสารเกื้อการุณย์, 23(2), 86-103.

ปิ่นสุดา สังฆะโณ, บุษกร พันธ์เมธาฤทธิ์ และพิสมัย วัฒนสิทธิ์. (2563). ผลของการให้ข้อมูลผ่านทางโมบายแอปพลิเคชั่นต่อความวิตกกังวลของมารดาผู้ป่วยเด็ก

ระยะที่อยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตเด็กและเตรียมย้ายออกจากหอผู้ป่วยวิกฤตเด็ก. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 40(4), 97-110.

Salmani, N., Hasanvand, S., Bagheri, I., & Mandegar, S. (2017). Nursing Care Behaviors Perceived by Parents of Hospitalized children: A

qualitative Study. International Journal of Pediatrics, 5(7), 5379-5389.

กนกจันทร์ เขม้นการ, สุวิชัย พรรษา, จิดาภา ผูกพันธ์, จิระวรรณ บุตรพูล และรรฤณ แสงแก้ว. (2560). ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลของพยาบาลต่อความรู้และ

การรับรู้ถึงความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อการดูแลผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล. พยาบาลสาร, 44(2), 71-80.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

26-07-2022

Versions