ทัศนคติของนิสิต ที่มีต่อการจัดกิจกรรมนันทนาการในสถานศึกษา ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Main Article Content
Abstract
This research aimed to study and to compare the attitude of the students towards campus recreation activities management of Srinakharinwirot University. The population in the study were the undergraduate students of Srinakharinwirot University in the academic year 2010. The 385 samples were selected by multistage sampling. The
independent variables were gender, u-campus, class of level and faculty/college. The dependent variable was the attitude in accordance with the students optimistic. The tool in the research was the questionnaire forms in section of the approximately 5 scales of Likert. Statistics analyzed the data including the frequency, percent, mean, standard deviation and test assumption of research with t-test and F-test.
The results of the research were as follows:
- The attitude of the students towards campus recreational activities management of Srinakharinwirot University found that the whole of them were at high level. Each of article found that most of them were in high level. The most of the atitude was the interesting activities. There were four types of attitude in the moderate level; the free time enough to participate in activities, the faculty members supporting the students to participate in activities, the flexibility in the service of the activities in the University and the recreational facilities in university that liked to join. The students liked to participate in the campus recreational activities were mostly in the level. The activities liked to join the most such as music and music and liked to participate in the moderate level such as literature and arts and craft.
- The attitude of the students towards campus recreational activities management of Srinakharinwirot University with difference gender, difference u-campus, difference class of level and difference faculty /college were not differences.
Article Details
The published article is a copyright of the Academic Journal of Thailand National Sports University. The passage appeared in each article in this academic journal is a perspective of each author which is not related to the journal. Each author is required to be responsible for all components of his/her own article. If there are any mistakes, each author must be responsible for those mistakes on his/her own.
References
กองบริการการศึกษา. (2553). สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีการศึกษา 2553. ถ่ายเอกสาร.
จุฑามาศ ชื่นจิตร. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะมุ่งอนาคตของนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชานันทนาการ คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สารนิพนธ์ กศ.ม (จิตวิทยาการศึกษา),กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ต่อศักดิ์ กาญจนทรัพย์สิน. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการเป็นผู้นํานันทนาการของนิสิตระดับปริญญาตรี วิชาเอกนันทนาการ คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา), กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
นิธิพัฒน์ เมฆขจร. (2540), การศึกษาการใช้เวลาของนักศึกษาที่เป็นนักกีฬา มหาวิทยาลัยศรีปทุม กรุงเทพมหานคร ปริญญานิพนธ์ (กศ.ม. (จิตวิทยาการแนะแนว), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ถ่ายเอกสาร.
บุญเสริม อุทัยผล. (2530). นันทนาการเบื้องต้น เชียงใหม่ : ฝ่ายเอกสารการพิมพ์วิทยาลัยครูเชียงใหม่.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2541). นันทนาการสําหรับครู. กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน.
ประสงค์ จันทองจีน. (2524, กรกฎาคม-ธันวาคม). ทัศนคติและความคาดหวังของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่มีต่อสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยและสังคมไทย. วารสารครุศาสตร์, หน้า 65-73.
ปราโมทย์ ปรีไทย. (2551). ความต้องการการจัดกิจกรรมนันทนาการของนักเรียนในโรงเรียนอาชีวศึกษา สังกัดสํานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2550). ข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยกิจกรรมและวินัยนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2550. ถ่ายเอกสาร.
ร้อยโทหญิง กิรณา กาญจนินทุ. (2549), ความต้องการการจัดกิจกรรมนันทนาการของนักศึกษาวิชาทหารศูนย์ฝึกนักศึกษาวิชาทหาร ศูนย์การกําลังสํารอง ถนนวิภาวดีรังสิตกรุงเทพมหานคร ปริญญา นิพนธ์ กศ.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์; และคณะ. (2552). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ.
สมบัติ กาญจนกิจ. (2544). นันทนาการและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว กรุงเทพฯ : ทํามาดีจํากัด.
สรากร บุญกิจเจริญ. (2549). ศึกษาการใช้เวลาว่างในการประกอบกิจกรรมนันทนาการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีการศึกษา 2548. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
สิวาณี เซ็ม (2542). การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกาย และการเล่นกีฬาของนิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ. วิทยานิพนธ์ ค.บ. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
สํานักส่งเสริมและพัฒนานันทนาการ. (2551). แผนพัฒนานันทนาการแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2550 - 2554), กรุงเทพมหานคร, โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจํากัด.
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2551-2554). อัดสําเนา.
อัศวิน มณีอินทร์. (2547), การศึกษาการใช้เวลาว่างของนิสิตที่พักอาศัยในหอพักของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ถ่ายเอกสาร.)
เอนก หงษ์ทองคํา. (2542). นันทนาการกับสังคม. (เอกสารประกอบคําสอน), กรุงเทพฯ :
Cronbach, Lee J. (1970). Essentials of Psychological Testing. 3rd Ed. New York: Harper & Raw.
Krejcie, Robert V. and Morgan Daryle M. (1970,. Mach). Determining Sample Size for Research Activities. Educational Psychological Measurement. 30(3) : 607-610.
Watson, James Franklin. (1997. January). The Impact of Leisure Attitude and Motivation on the Physical Recreation /Leisure Participation Time of College Students. Dissertation Abstracts International. Dai-A 57/07:3251.