สภาพและปัญหาการจัดกิจกรรมนันทนาการประเภทเกมและกีฬาของครูสอนพลศึกษาในดรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเทศไทย

Main Article Content

Winida ๋Jiaranai

Abstract

The purpose of this research was to study the states and problems of recreational activities management in games and sports of the teacher in primary schools, office of the Basic Education Commission of Thailand, and compared according to the sex, age, experience of work and region. The sample used in this research was 400 of games and sports of the teacher, derived through stratified random sampling. There were 4 variables The tool was the checklist and questionaires with five rating scales of Likert, there were 4 aspects of recreation activities as the recreation activities, the management, the personnel and the facility. The data was analysed by the statistical with percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test.


The results of the research were as follows:


  1. The status of the recreational activities management in games and sports in primary schools, office of the Basic Education Commission of Thailand found that there were appreciated in 4 aspects of recreation activities as the management, the personnel the budgeting the materials and the recreation activities in games and sports.

  2. The games and sports of the teacher of the recreational activities management in games and sports in primary schools, office of the Basic Education Commission of Thailand, in overall was at moderate level.

  3. The different sex of the games and sports of the teacher of the recreational activities management in games and sports in primary schools, had no significant difference of problems for recreational activities management in games and sports.

  4. The different age of the games and sports of the teacher of the recreational activities management in games and sports in primary schools, had no significant difference of problems for recreational activities management in games and sports.

  5. The different experience of work of the games and sports of the teacher of the recreational activities management in games and sports in primary schools, had no significant difference of problems for recreational activities management in games and sports.

  6. The different region of the games and sports of the teacher of the recreational activities management in games and sports in primary schools, was different region had no significant difference of problems for recreational activities management in games and sports

Article Details

How to Cite
๋Jiaranai W. (2012). สภาพและปัญหาการจัดกิจกรรมนันทนาการประเภทเกมและกีฬาของครูสอนพลศึกษาในดรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเทศไทย. Academic Journal of Thailand National Sports University, 4(3), 85–102. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/254811
Section
Research Articles

References

กมล สุวรรณศรี, มปป), นันทนาการ. (เอกสารประกอบการสอน), กรุงเทพฯ: วิทยาลัยสวนดุสิต กรรณิการ์ ไวยสุรา. (2549). ปัญหาในการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการของพนักงานสายการผลิตบริษัทในเครือเซ็นทรัลมาร์เก็ตติ้งกรุ๊ป, ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

กําโชค เผือกสุวรรณ. (2538), ผู้นําสันทนาการ. กรุงเทพฯ: เกษมศรีการพิมพ์.

คณิต เขียววิชัย. (2534), หลักนันทนาการ. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากรพระราชวังสนามจันทร์.

จันทิมา สีไพร. (2540), ศึกษาสภาพและปัญหาการดําเนินการโครงการออกกําลังกายของหน่วยงานรัฐบาลในเขตกรุงเทพมหานคร, ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

จิรนัน สีลม. (2549). สภาพและความต้องการการจัดกิจกรรมนันทนาการของบุคลากรมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

จุฑามาศ ชื่นจิตร. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะมุ่งอนาคตของนิสิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชานันทนาการ คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

ชูชีพ เยาวพัฒน์. (2543). การจัดงานอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

ดุษฎี สรวงขันธ์. (2545), การศึกษาปัญหา สาเหตุของปัญหาและความต้องการในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรมของสมาชิก ศูนย์เยาวชนเวรุราชิน, ปริญญานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการนันทนาการ). กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถ่ายเอกสาร.

บุญเสริม อุทัยผล. (2530), นันทนาการเบื้องต้น, เชียงใหม่: ฝ่ายเอกสารการพิมพ์วิทยาลัยครูเชียงใหม่.

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2541). นันทนาการสําหรับครู, กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปราโมทย์ ปรีไทย. (2551). ความต้องการการจัดกิจกรรมนันทนาการของนักเรียนในโรงเรียนอาชีวศึกษาสังกัดสํานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตพื้นที่ การศึกษากรุงเทพมหานคร 3. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

ปริญญา นาชัยสิทธิ์. (2546). สภาพและปัญหาการเรียนการสอนพลศึกษา ในสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2546. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (พลศึกษา), กรุงเทพฯ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

มานะ หมอยาดี. (2540). การใช้เวลาว่างเพื่อการออกกําลังกายของนักเรียนนายเรืออากาศ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (พลศึกษา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

ร็อบบินส์ สตีเฟนส์ พี. (2550), การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. แปลโดย วิรัช สงวนวงศ์วาน, กรุงเทพฯ เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.

รัตนากฤษ ประยูรถม. (2546), สภาพและปัญหาในการบริหารจัดการสถานออกกําลังกาย ในเขตกรุงเทพหานคร พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ : ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (พลศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ราชกิจจานุเบกษา. (2546). พระราชบัญญัติการประถมศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวิจัยทางพลศึกษา กรุงเทพฯ : สุรวิริยาสาส์น.

วิชาการ กรม. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

ศราวุธ ฮะประสาร. (2550). ปัญหาและความต้องการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการของพนักงาน บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) สํานักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร, ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

สมชาย ไวยากรณ์. (2549), ศึกษาการใช้เวลาว่างในการประกอบกิจกรรมนันทนาการของวัยรุ่นชุมชนเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร, ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

สมบัติ กาญจนกิจ. (2542). นันทนาการชุมชนและโรงเรียน, พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สมบัติ กาญจนกิจ. (2544), นันทนาการและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว, กรุงเทพฯ: ทํามาดีจํากัด, สํานักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2554. (2554). สืบค้นเมื่อ มีนาคม 2554 จาก http://www.moe.go.th/data_stat/

สํานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ. (2546). ยุทธศาสตร์การพัฒนากิจการนันทนาการในโลกยุคใหม่. กรุงเทพฯ: กลุ่มวิจัยและพัฒนา สํานักส่งเสริมและพัฒนานันทนาการ.

สํานักส่งเสริมและพัฒนานันทนาการ. (2549). ศึกษาสภาพและปัญหาการดําเนินงานกิจกรรมนันทนาการในประเทศ ถ่ายเอกสาร.

สํานักส่งเสริมและพัฒนานันทนาการ. (2551). แผนพัฒนานันทนาการแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2550 - 2554). กรุงเทพฯ: สํานักงาน พัฒนาการกีฬาและนันทนาการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

สํานักส่งเสริมและพัฒนานันทนาการ. (2551). แผนพัฒนานันทนาการแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2550- 2554). กรุงเทพมหานคร, โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.

เอนก หงษ์ทองคํา. (2542), นันทนาการกับสังคม. (เอกสารประกอบคําสอน), กรุงเทพฯ: ถ่ายเอกสาร.

อุทัยวรรณ นพรัตน์. (2550), สภาพและปัญหาของผู้เข้าร่วมที่มีต่อการจัดการกิจกรรมนันทนาการของสํานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

Krejcie, Robert V. Morgan Daryle M. (1970,. Mach). Determining Sample Size for Research Activities. Educational Psychological Measurement. 30(3): 607-610.