ความต้องการกิจกรรมการใช้เวลาว่างและคุณภาพชีวิต ของนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความต้องการกิจกรรมการใช้เวลาว่าง และคุณภาพชีวิตของนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนเอกชนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 10,282 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างจากการเทียบตารางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถามความต้องการกิจกรรมการใช้เวลาว่าง ที่ได้ผ่านการตรวจสอบความเที่ยง ตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญทางนันทนาการ 5 ท่าน มีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.6-1.0 และหาความเชื่อมั่น
ได้ค่าเท่ากับ 0.85 และ 2) แบบวัดคุณภาพชีวิตของนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายมีค่าดัชนี ความสอดคล้อง อยู่ระหว่าง 0.6 -1.0 และความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายมีความต้องการกิจกรรมการใช้เวลาว่างโดยรวมมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ เล่นดนตรี ( = 2.96) ฟงั เพลง (
= 2.84) และแบดมินตัน (
= 2.83) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ประเภทดนตรี มีความต้องการมากที่สุดคือ เล่นดนตรี ((
= 2.96) ประเภทงานอดิเรก คือ ฟังเพลง (
= 2.84) ประเภทเกมและกีฬา คือ แบดมินตัน (
= 2.83) และประเภทศิลปหัตถกรรม คือ งานฝีมือ (
= 2.63) และ 2) นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายมีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับมาก(
= 3.21) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านวัตถุ มีความพอใจสภาพบ้านที่อยู่อาศัยในปัจจุบันมากที่สุด (
= 3.44) รองลงมาด้านอารมณ์ คือ ฉันมีความสุขและเพลิดเพลินกับกิจกรรมการใช้เวลาว่าง และ ฉันรู้สึกตื่นเต้นในกิจกรรมการใช้เวลาว่างที่เข้าร่วม (
= 3.42) ด้านสังคม คือ ฉันได้รับความรักจากสมาชิกในครอบครัว (
= 3.41) และด้านร่างกาย คือ กิจกรรมการใช้เวลาว่างทำให้ฉันมีร่างกายแข็งแรง (
= 3.27) ตามลำดับ
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
Best, John W. (1977). Research in Education. 3rd ed. New Jersey: Prentice Hall.
Chalermputipong, S. (2011). Leisure education to promote quality of life. Journal of Faculty of Physical Education. 14(2), 10-21. [in thai]
Cheaychom, K. (2015). Exercise behavior of pupils in Krabi province. Academic Journal Institute of Physical Education. 7(1), 29-38. [in thai]
Educational Statistics, Ministry of Education. (2015). Report of the 2015 educational statistics. Retrieved December 20, 2015, from http://www.mis.moe.go.th/misth/index.php?option=com_content&view=article&id=55&Itemid=146.
Issarawiriyakul, P. (2011). Strategies for the administration of quality private schools. NEU Academic and Research Journal. 3(1), 77-87. [in thai]
Lahey, B.B. (2001). Psychology : an introduction. 7th ed. New York: McGraw-Hill.
National Institute for Learning Reforms. Office of the National Education Commission. (n.d.). Guidelines for management of education according to the National Education Act. Bangkok: NILR. [in thai]
Quality Learning Foundation. (2012). The development of project learning of the 10 provinces. Bangkok: QLF. [in thai]
Srisapha, K. (2015). Health-related physical fitness of age 10-12 years old students private school, Saunlaung district in Academic year 2014. Academic Journal Institute of Physical Education. 7(3), 183-195. [in thai]
Tangsujjapoj, S. (2010). Leisure and recreation. Bangkok: Faculty of Physical Education. Kasetsart University. [in thai]
Thai News Agency. (2014). Elementary school students revealed a trend to be act and treated more in school. Retrieved July 28, 2014, from http://www.mcot.net/site/contant?id=53b26591be047084328b4501#Vbd3070qqko. [in thai]
The American Association for Physical Activity and Recreation. (AAPAR). (2011). Leisure Education in Schools: Promoting Healthy Lifestyles for All Children and Youth. Retrieved November 14, 2015, from www.aapar.org.
Tianthawat, P., Yaosiri, P., & Bobethong, W. (2015). Leisure Time for Recreation of Students in Krabi Province. Proceedings of the 5th. Institute of Physical Education International Conference 2015. (pp..136-142). Institute of Physical Education. [in thai]
Wipulakorn, P. (2010). Develop quality of life in middle school child by “Development Assets Empowerment”. Rajanukul Institute Journal. 25(2), 25-34. [in thai]
World Health Organization. (1997). WHOQOL: Measuring Quality of Life. Geneva: World Health Organization Publishing.