การรับรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และพฤติกรรมสุขภาพ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา: กรณีศึกษา
คำสำคัญ:
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง, การรับรู้, พฤติกรรมสุขภาพ, NCDsบทคัดย่อ
บทคัดย่อผลการศึกษา พบว่า จากผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 229 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 65.10 (n=149) ส่วนใหญ่ศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 ร้อยละ 31.00 (n=71) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ได้รับข่าวสารเกี่ยวกับสุขภาพจาก สื่อสังคมออนไลน์ ร้อยละ 64.60 (n=148) ผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 48.00 (n=110) มีคะแนนการรับรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอยู่ระดับปานกลาง รองลงมามีการรับรู้อยู่ระดับต่ำ ร้อยละ 44.10 (n=101) คำถามที่ตอบถูกมากสุดคือ ข้อใดไม่ใช่โรคที่จัดอยู่ในกลุ่ม โรค NCDs โรคมะเร็งเกิดจาก ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับโรคหัวใจโดยตรง ส่วนคำถามที่ตอบถูกน้อยสุดคือ ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยหลักในการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังชนิดใดที่ฆ่าชีวิตคนอเมริกันมากที่สุด และข้อใดกล่าวถูกต้องกับการดื่มเหล้า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีพฤติกรรมสุขภาพอยู่ระดับกลาง ร้อยละ 56.70 (n=130) โดยพฤติกรรมที่ปฏิบัติเสมอมากสุดเป็นการหลีกเลี่ยงการได้รับควันบุหรี่ การงดการดื่มแอลกอฮอล์ การทำกิจกรรมสันทนาการคลายเครียด ส่วนพฤติกรรมที่ปฏิบัติการรับประทานอาหารทอด การรับประทานอาหารที่มีรสชาติหวาน และ การรับประทานอาหารที่มีโซเดี่ยมสูง ไม่พบแปรที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การรับรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับ ช่องทางการรรับข่าวสาร (r= 0.158*, p<0.05) สรุป กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอยู่ระดับกลาง โดยมีการรับรู้เกี่ยวกับโรคใดคือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผู้ตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมสุขภาพอยู่ระดับปานกลาง พฤติกรรมสุขภาพที่ปฏิบัติเสมอน้อยสุดเป็นเรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ควรมีการให้ความรู้เกี่ยวโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปัจจัยการเกิดโรค การป้องกัน และพฤติกรรมสุขภาพ เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีตั้งแต่ยังวัยรุ่น ส่งผลต่อสุขภาพระยะยาวของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และควรมีการจัดเวลาสำหรับกิจกรรมกีฬา การออกกำลังกาย การส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มมากขึ้นในเวลาเรียน
References
เอกสารอ้างอิง
World Health Organization Thailand [Internet]. Bangkok: World Health Organization Thailand; c2023 [cited 2023 Jan 1]. Available from: https://www.who.int/thailand/activities/NCDs_Investment_Case_Report#:~:text=Four%20Noncommunicable%20diseases%20(NCDs)%2C,of%20all%20deaths%20in%20Thailand
United Nations Thailand [Internet]. Thailand: United Nations Thailand; c2023 [cited 2023 Jan 1]. Available from: https://thailand.un.org/en/159788-prevention-and-control-noncommunicable-diseases-thailand-case-investment
World Health Organization Thailand [Internet]. Bangkok: World Health Organization Thailand ; c2023 [cited 2023 Jan 1]. Available from: https://www.who.int/thailand/activities/catalyzing-multisectoral-actions-to-reduce-ncds-risk--factors
The NCD Alliance [Internet]. Switzerland: The NCD Alliance ; c2017 [cited 2023 Jan 1]. Available from: https://ncdalliance.org/why-ncds/risk-factors-prevention
Tobacco Control Research and Knowledge Management Center, (TRC.) [Internet]. Bangkok: TRC; c2019 [cited 2023 Jan 1]. Available from: https://www.trc.or.th/en/thai-tobacco-smoking-situation/
Chotbenjamaporn P, Haruhansapong V, Jumriangrit P, Pitayarangsarit S, Agarwal N, Garg R. Tobacco use among thai students: Results from the 2015 global youth tobacco survey. National Library of Medicine 2017; 61(1): 40-46
Assanangkornchai S, Sam-Angsri N, Rerngpongpan S, Lertnakorn A. Patterns of Alcohol Consumption in the Thai Population: Results of the National Household Survey of 2007. Oxford Academic, Alcohol and Alcoholism. 2010; 45(3): 278–285
ฐิติกร โตโพธิ์ไทย, ณัฏฐกา กิจสมมารถการ. health kpi [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ :กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย ; 2564 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://healthkpi.moph.go.th/kpi2/kpi-list/view/?id=11
Muangsri K, Tokaew W, Sridee S, Chaiyasit K. Health communication to reduce sugar consumption in Thailand. Functional Foods in Health and Disease 2021; 11(10): 484-498
United Nations Thailand [Internet]. Bangkok: United Nations Thailand; 2022 [cited 2023 Jan 1]. Available from: https://cdn.who.int/media/docs/default-source/thailand/ncds/risk-factor/thailand-ncd_advocacy_salt_v06_091221_print.pdf?sfvrsn=f829e27e_5
ปฏิพันธ์ เสริมศักดิ์. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงภาวะเมตาบอลิกซินโดรมของพนักงานโรงงานที่เข้ากะในโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิกในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2566]: ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 พ.ค.-ส.ค. ; 157-165. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/download/39521/32679/90088
อรัญญา หมั่นธรรม, มธุรส ทิพยมงคลกุล, วัชราภรณ์ เปาโรหิตย. ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในผู้รับบริการตรวจสุขภาพ ณ กองเวชศาสตร์ป้องกัน กรมแพทย์ทหารอากาศ. เวชสารแพทย์ทหารบก. 2565;75(1):27-37.
สุธิดา แก้วทา, ภาณุวัฒน์ คำวังสง่า, อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์. รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2562. รายงานสถานการณ์โรค NCDs. พฤษภาคม 2563:1-87
Novo Nordisk. Partnering to innovate diabetes care in Thailand [Internet]. Thailand: Novo Nordisk Pharma Thailand; c2017 [cited 2023 Jan 1]. Available from: https://www.novonordisk.com/content/dam/Denmark/HQ/sustainablebusiness/performance-on-tbl/more-about-how-we-work/Creating%20shared%20value/PDF/Thailand%20Blueprint%20for%20Change_2017.pdf
Missouri Department of Health and Senior Services. Adolescent Health Statewide Strategic Plan [Internet]. USA: Missouri Department of Health and Senior Services; 2005 [cited 2023 Jan 1]. Available from: https://health.mo.gov/living/families/adolescenthealth/pdf/guiding-principles-for-promoting-adolescent-health.pdf
Lorga T, Aung MN, Naunboonruang P, Junlapeeya P, Payaprom A. Knowledge of communicable and noncommunicable diseases among Karen ethnic high school students in rural Thasongyang, the far northwest of Thailand. National Library of Medicine. 2013; 1(6): 519-26
คัทลิยา วสุธาดา, ลลิตา เดชาวุธ, นันทวัน ใจกล้า, สายใจ จารุจิตร. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี. 2561; 29(2): 47-59
ปรีดา ณ พัทลุง, วาริศา พลายบัว. การรับรู้ข่าวสารผ่านสื่อใหม่ความตระหนักและพฤตกิรรมการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรค NCDs ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 8; มหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, คณะสื่อสารมวลชน. 2561
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. กระแสรักสุขภาพจากโควิดสร้างโอกาสธุรกิจ SME. [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยกสิกรไทย; 2563 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.kasikornbank.com/SiteCollectionDocuments/business/sme/knowledge/article/KSMEAnalysis/Healthtrend_SME/Healthtrend_SME.pdf
Prakai. Marketing Oops. ส่องพฤติกรรม Gen Z กับนิสัยการเช็คสุขภาพด้านต่างๆ ผ่าน smart phone – smart watch [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: Marketing Oops; 2564 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.marketingoops.com/data/gen-z-is-talking-are-you-listening-pwc-report/
นนทชา วิมลวัฒนา, ทิพาพันธุ์ สังฆะพงษ์, รัตนา ปานเรียแสน. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. วารสารเกื้อการุณย์. 2560; 24(2): 61-81
กัลยาวีร์ อนนท์จารย์. ทฤษฏีแบบแผนความเชื่อทางสุขภาพ (health belief model) [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ; 2559 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://myblogcomnurse.blogspot.com/2016/02/health-belive-model.html
Nnanthisin. ทรูไอดี. 22 สูตรอาหาร เมนูของทอด ทำขาย สตรีทฟู้ดอร่อยฮิต ขายตรงไหนก็ปัง [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ทรู ดิจิทัล; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://food.trueid.net/detail/K7N638KPyEw7
หลุมดำผู้ดูดกลืน. Wongnai. 30 ร้านขนมหวานในกรุงเทพฯสุดฟิน ตะลุยกินแบบไม่มีเบื่อ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: Wongnai Media; c2010-2023 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.wongnai.com/listings/dessert-before-die
Admink. Brand buffet. สสส. เปิด Insight พฤติกรรมการกินคนไทย ชี้ คนทำงาน ติดหวาน มากขึ้น 14% เพิ่มความหวานในเครื่องดื่มสูงขึ้น [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: Double B Media; c2021 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.brandbuffet.in.th/2022/09/thai-health-insight-workers-like-more-sweet/
Admink. Brand buffet. ห่วงหนุ่มสาววัยทำงาน! หลังผลวิจัย พบติดเค็มหนัก 55% ติดปรุง เน้นอร่อย [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: Double B Media; c2021 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.brandbuffet.in.th/2022/09/thaihealth-survey-salty-working-people/
Kapookdotcom. 20 อาหารยอดฮิต ติดอันดับคำค้นของโลกออนไลน์ น่ากินทุกเมนู [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: Kapookdotcom; 2564 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://cooking.kapook.com/view250472.html
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. สรุปสำหรับผู้บริหาร การสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากร พ.ศ. 2560 [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านสังคม/สาขาสุขภาพ/Food_consumption_behavior_of_the_population/2560/สรุปสำหรับผู้บริหารสบอ.60แก้ไข2.pdf
สำนักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ. สสส.เผยสถานการณ์หลังโควิด กระทบการกินคนไทยขาดสมดุล อาหารไขมันท่วม [อินเทอร์เน็ต]. อุดรธานี: มูลนิธิภิวัฒน์สาธารณสุขไทย; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://www.hfocus.org/content/2022/05/25135
Mgronline.com. เครียดง่าย ผ่อนคลายด้วยการกิน [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: Mgr online; c2014-2023 [เข้าถึงเมื่อ 1 ม.ค. 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://mgronline.com/infographic/detail/9580000082586