Brain tumor in third trimester of pregnancy: A case report

Main Article Content

Narin Plailaharn

Abstract

Background: Meningioma is a common disease of the brain in Thailand. However, reports of Meningioma during pregnancy are limited. Objectives: To report a rare case of prepontine meningioma during pregnancy and review literature.

Method: Medical chart review, anesthetic record and Magnetic resonance imaging (MRI) of patient was reviewed.

Results: A - year - old woman with 31 - weeks pregnancy was diagnosed with meningioma since she was 19 weeks pregnant. Magnetic resonance imaging showed meningioma at right prepontine size 3 × 3 × 3 cm. She had deteriorated neurological deficit so the multidisciplinary team decided to terminate pregnancy by cesarean section. She was underwent cesarean section under general anesthesia; rapid-sequence- induction. The neonate birth weight was 2,810 grams and there were no malformations. Four days later, she was underwent craniotomy with tumor removal. The surgical procedure and postoperative period were uneventful with improved neurological deficit.

Conclusions: Meningioma during pregnancy is rare. The multidisciplinaryteam approach is critical for successful patient management. General anesthesia with balanced analgesia met predefined anesthetic management goal was associated with a good outcome

 

รายงานผู้ป่วย: โรคเนื้องอกสมองในสตรีตั้งครรภ์

หลักการและวัตถุประสงค์: เนื้องอกสมองชนิดmeningioma เป็นเนื้องอกที่พบได้ในประชากรไทย แต่พบน้อยมากขณะตั้งครรภ์ (7: 126,000)

วิธีการศึกษา: ทบทวนประวัติการเจ็บป่วย รวมทั้งการดูแลรักษาผู้ป่วยจากเวชระเบียน ใบบันทึกทางวิสัญญี และทบทวนภาพทางรังสีวินิจฉัย

ผลการศึกษา: หญิงอายุ 38 ปี อายุครรภ์31 สัปดาห์ ได้รับการวินิจฉัยเนื้องอกสมองชนิด meningioma ขนาด 3 × 3 × 3 ซม. บริเวณ prepontine จากการตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของสมอง (เอ็มอาร์ไอ) ตั้งแต่อายุครรภ์ 19 สัปดาห์ ผู้ป่วยมีอาการทางระบบประสาทแย่ลงทีมแพทย์จึงยุติการตั้งครรภ์โดยการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องได้ทารกเพศหญิงน้ำหนักแรกคลอด 2,810 กรัม ทารกปกติดี 4 วันถัดมาจึงนำผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัดเนื้องอกในสมองหลังผ่าตัดผู้ป่วยและบุตรปลอดภัย ผลทางระบบประสาทแขนขาด้านซ้ายมีอาการอ่อนแรงน้อยลง และอาการชาใบหน้าด้านขวาดีขึ้น

สรุป: เนื้องอกสมองในระหว่างการตั้งครรภ์พบไม่บ่อยแต่มีอัตราการเสียชีวิตสูงสิ่งสำคัญคือการดูแลแบบหลายสาขาวิชา การระงับความรู้สึกโดยการดมยาสลบถือว่าเป็นวิธีที่ปลอดภัย


Article Details

Section
Case reports