การจัดตั้งห้องปฏิบัติการสถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง กรุงเทพมหานคร เพื่อตรวจวินิจฉัยหาเชื้อ SARS-CoV-2

ผู้แต่ง

  • สุวรรณา เพ็ชรโต สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง
  • กมลทิพย์ อัศววรานันต์ สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง
  • ภัคพร พานวิจิตรกุล สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง
  • อมรมาศ คงเกลี้ยง สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง
  • สุทธิสา จันทร์เพ็ง สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง
  • ดารุณี ดิษฐ์สูงเนิน ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข
  • สมรักษ์ ศิริเขตรกรณ์ สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง
  • พูลทรัพย์ โพนสิงห์ สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง
  • ภาสินี ม่วงใจเพชร สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง
  • วัลลีรัตน์ พบคีรี ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข
  • เอนก มุ่งอ้อมกลาง สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง

คำสำคัญ:

ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ตรวจหาเชื้อ SARS-CoV-2, สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง

บทคัดย่อ

SAR-Cov-2 เพิ่งเกิดขึ้นได้ไม่นาน กลายเป็นภัยคุกคามระดับโลกที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อมนุษย์ทุกคนอันเนื่องมากจากการเจ็บป่วยและเสียชีวิต มีความพยายามทางวิทยาศาสตร์ในการทำความเข้าใจและควบคุมการแพร่เชื้อ SAR-Cov-2 และผลกระทบทางคลินิก การวินิจฉัยโรคเป็นสิ่งที่สำคัญและเป็นขั้นตอนแรกในการรับรู้และต่อสู้กับเชื้อโรค สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองได้พัฒนาห้องปฏิบัติการทางการแพทย์เพื่อรองรับการตรวจหาเชื้อ SARS-CoV-2 ในภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขที่เป็นการระบาดใหญ่ (Pandemic) องค์ประกอบของความสำเร็จ ได้แก่ 1) ความร่วมมือจากสมาคมนักเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ที่มีจิตอาสาเข้ามาช่วยงานในห้องปฏิบัติการฯ 2) ความร่วมมือจากภาคเอกชน ในการลงทุนทางด้านสถานที่เก็บตัวอย่าง เครื่องมืออุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการกับข้อมูล เทคโนโลยีในการเชื่อมโยงระบบ 3) การมี clinic ARI และ Active case finding เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงเข้ารับการคัดกรอง ตรวจหาเชื้อก่อโรคได้ง่ายขึ้น 4) มีระบบการจัดการที่ดี และมีโครงสร้างขององค์กรที่มีทิศทางที่ชัดเจนต่อการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 5) มีที่ปรึกษา ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ทำให้เกิดความเชื่อมั่นต่อระบบการตรวจหาเชื้อก่อโรคที่มีคุณภาพ ผลของปัจจัยดังกล่าวนำไปสู่การเป็นศูนย์กลาง ระบบการ verify case สร้างความเชื่อมั่นต่อระบบการควบคุม ที่นำไปสู่การการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

World Health Organization. Coronavirus disease (COVID-19) outbreak situation 2020 [Internet] [20 April 2020]. Available from: http://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019.

World Health Organization. 2019-nCoV outbreak is an emergency of international concern [Internet] [15 April 2020]. Available from: http://www.euro.who.int/en/health-topics/health-emergencies/international-health-regulations/news/news/2020/2/2019-ncov-outbreak-is-an-emergency-of-international-concern.

Hong KH, Lee SW, Kim TS, Huh HJ, Lee J, Kim SY, et al. Guidelines for laboratory diagnosis of coronavirus disease 2019 (COVID-19) in Korea. Annals of laboratory medicine. 2020;40(5):351.

Lippi G, Simundic A-M, Plebani M. Potential preanalytical and analytical vulnerabilities in the laboratory diagnosis of coronavirus disease 2019 (COVID-19). Clinical Chemistry and Laboratory Medicine (CCLM). 2020;58(7):1070.

Li X, Geng M, Peng Y, Meng L, Lu S. Molecular immune pathogenesis and diagnosis of COVID-19. Journal of pharmaceutical analysis. 2020;10(2):102-8.

World Health O. Laboratory testing for coronavirus disease 2019 (‎COVID-19)‎ in suspected human cases: interim guidance, 2 March 2020. Geneva: World Health Organization; 2020 2020. Contract No.: WHO/COVID-19/laboratory/2020.4.

Tang Y-W, Schmitz JE, Persing DH, Stratton CW. Laboratory Diagnosis of COVID-19: Current Issues and Challenges. Journal of Clinical Microbiology. 2020;58(6):e00512-20.

แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019: COVID-19) ฉบับ 23 มีนาคม 2563 2563 [Internet] [28 April 2020]. Available from: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_srrt/g_srrt_250363.pdf.

ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค. รายงานข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) [Internet] [31 July 2020]. Available from: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/situation/situation-no210-310763.pdf.

ศูนย์บริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม. แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ Biosafety Guidelines [Internet] [7 April 2020]. Available from: https://www.mahidol.ac.th/sustainable/pdf/Biosafety.pdf.

กรมวิทยาศาสตตร์การแพทย์. แนวทางการจัดตั้งห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์โรคโควิด-19 (COVID-19) [Internet].

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. รายชื่อชุดตรวจสำหรับCOVID-19 (Rapid Test) ที่ได้รับการอนุญาตให้นําเข้าจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา [Internet] [28 April 2020]. Available from: https://bit.ly/38XsgOO.

Allplex™ SARS-CoV-2 Assay. South Korea. Seoul; 2020.

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. รายชื่อชุดน้ำยาตรวจไวรัส SARS-CoV-2 Real-time RT-PCR ที่ผ่านการประเมินจากกรมวิทยาศาสตร์การแแพทย์ [29 Mar 2020]. Available from: https://www3.dmsc.moph.go.th/post-view/732.

Qiastat-dx® Respiratory SARS-CoV2. Germany: Hilden; 2020.

ThaiNewsAgency. แจงวิธีตรวจโควิด-19 ทางห้องปฏิบัติการมีทั้งการตรวจหาเชื้อไวรัสและตรวจภูมิคุ้มกัน [30 April 2020]. 31 Mar 2020:[Available from: https://tna.mcot.net/tna-404812.

วราภรณ์ เทียนทอง สถาบันบำราศนราดูร. การใส่ PPE for COVID-19 [30 April 2020]. Available from: https://1th.me/mZDmu.

National Center for Immunization and Respiratory Diseases (NCIRD) Division of Viral Diseases. Interim Laboratory Biosafety Guidelines for Handling and Processing Specimens Associated with Coronavirus Disease 2019 (COVID-19). 2020.

ฐานข้อมูลออนไลน์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 [Internet]. [cited 30 July 2020]. Available from: http://viral.ddc.moph.go.th/ncov-2019/export

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-01-20