ผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทันตสุขภาพ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา

Main Article Content

รัตนา จันทร

Abstract

Background : The dental caries problem is a major problem that is found in people of all age groups. Preschool children, especially have relatively high rates of dental caries as the risk factors of the disease has increased. Address serious oral diseases in children is important for changing knowledge, ability and practice to prevent dental caries and gingivitis.

Objective :The study was to investigatethe effectiveness of dental health education program for changing dental health behavior of students and investigate the association between knowledge, self-ability expectation and amount of place accumulation in primary students in Namaungsubdistrict, Maung district, Chachoengsao province.

Materials and Method : The study was quasi– experimental research. The study population was 153 students between the ages of 9-13 yearswhich was divided into 2 groups: 81 students in study group and 72 students in control group. Questionnaire were consisted of dental health knowldge, healthself-efficacy­expectation, and practice for dental caries and gingivitis prevention , Plaqueindex and dental health education program for changing dental Health behavior for a period of 8 weeks.

Result : After intervention, knowledge, expec­tation, and practice regarding dental health in experimental group were significantly higher than those in control group (p ‹ 0.05). Knowl­edge and practice were associated with the amount of plaque (r=0.210, p ‹ 0.05) (r=0.312, p ‹ 0.05). The expectation was not associated with the amount of plaque.

Conclusions : Effecttives of dental health education program forchanging dental Health behavior of primary students allows students to change behavior, knowledge about dental health. Expectations in their ability to prevent dental caries and gingivitis, practices in prevention of tooth decay, gingivitis and the amount of plaque. 

 

ที่มาของปัญหา : ปัญหาโรคฟันผุถือว่าเป็นปัญหา สำคัญที่พบได้ในประชากรทุกกลุ่มอายุโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในกลุ่มเด็กวัยก่อนเรียนมีอัตราการเกิด โรคฟันผุค่อนข้างสูงตามปัจจัยเสี่ยงของโรคมีมาก ขึ้น การแก้ไขภาวะโรคในช่องปากในกลุ่มเด็กวัย เรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องเร่งดำเนินการเพื่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้ความสามารถและการ ปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือก อักเสบที่ถูกต้อง

วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมทันต สุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทันต สุขภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษา และหาความ สัมพันธ์ระหว่างความรู้ความคาดหวังในความ สามารถของตนเองการปฏิบัติตัวในการป้องกัน โรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบและปริมาณคราบ จุลินทรีย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา อำเภอเมือง ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา

วัสดุและวิธีการ: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาใน โรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองฉะเชิงเทราอายุ ระหว่าง 9-13 ปี ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2559 ได้แก่ โรงเรียนเทศบาล 1 และโรงเรียน เทศบาล 2 จำนวนทั้งสิ้น 153 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลองจำนวน 81 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 72 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเป็นแบบสอบถาม เนื้อหาในแบบสอบถาม ประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ความ คาดหวังในความสามารถของตนเอง และการ ปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือก อักเสบแบบบันทึกปริมาณคราบจุลินทรีย์ และ โปรแกรมทันตสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมทันตสุขภาพเป็นระยะเวลา 8สัปดาห์

ผลการศึกษา: หลังการให้โปรแกรมทันตสุขศึกษา พบว่า ความรู้ ความคาดหวังและการปฏิบัติตัว เกี่ยวกับทันตสุขภาพในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่ม ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p ‹ 0.05) ความ รู้และการปฏิบัติตัวมีความสัมพันธ์กับปริมาณ คราบจุลินทรีย์ (r=0.210 , p ‹ 0.05) (r=0.312 , p ‹ 0.05) และความคาดหวังไม่มีความสัมพันธ์กับ ปริมาณคราบจุลินทรีย์

สรุป: โปรแกรมทันตสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมทันตสุขภาพของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาทำให้นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ด้านความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพความคาดหวังใน ความสามารถของตนเองในการป้องกันโรคฟันผุ และโรคเหงือกอักเสบ การปฏิบัติตัวในการป้องกัน โรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบและปริมาณคราบ จุลินทรีย์ 

Article Details

Section
Original Article