ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถในตนเองด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการและน้ำหนักเพิ่มของหญิงตั้งครรภ์ครั้งแรกที่มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานก่อนตั้งครรภ์

Main Article Content

รักรุ้ง โกจันทึก
วรรณทนา ศุภสีมานนท์
ศิริวรรณ แสงอินทร์

บทคัดย่อ

          การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถในตนเอง ด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมสขุ ภาพด้านโภชนาการและน้ำหนักเพิ่มของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานก่อนตั้งครรภ์ กลุ่มตัวอย่างคือหญิงตั้งครรภ์มีภาวะน้ำหนักเกินก่อนตั้งครรภ์ จำนวน 60 รายมาฝากครรภท์ โรงพยาบาลพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ ความสามารถในตนเองด้านโภชนาการ  2) เครื่องชั่งน้ำหนัก 3) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและ พฤติกรรมด้านโภชนาการ กลุ่มควบคุมได้รับกจิ กรรมการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับทั้งกิจกรรม การพยาบาลตามปกติและโปรแกรมฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ พิสัย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Fisher’s exact, chi-square, Mann-Whitney U และ t-test ผลการวิจัยพบว่า


  1. กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคะแนนพฤติกรรมด้านโภชนาการก่อนและหลังทดลองสูง กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t =9.22, p<.001)

  2. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมด้านโภชนาการหลังทดลองสงู กว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (t=11.67, p<.001)

  3. กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักเพิ่มรายสัปดาห์แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t= -8.12, p<.001)

          พยาบาลแผนกฝากครรภ์ควรได้รับการอบรมเกี่ยวกับโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานก่อนตั้งครรภ์ แล้วประยุกต์โปรแกรมฯ มาใช้ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์กลุ่มนี้อันจะช่วยให้หญิงตั้งครรภ์กลุ่ม นี้ดูแลตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านโภชนาการได้อย่างเหมาะสม

Article Details

How to Cite
1.
โกจันทึก ร, ศุภสีมานนท์ ว, แสงอินทร์ ศ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถในตนเองด้านโภชนาการต่อพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการและน้ำหนักเพิ่มของหญิงตั้งครรภ์ครั้งแรกที่มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานก่อนตั้งครรภ์. NJPH (วารสาร พ.ส.) [อินเทอร์เน็ต]. 26 มกราคม 2018 [อ้างถึง 27 เมษายน 2025];27(3):80-9. available at: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/view/111191
บท
บทความวิจัย

References

1. World Health Organization. Obesity and overweight [Internet]. 2016 [Cited 2016 June].Available from: http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs311/en/.
2. Aekplakorn W. Prevalence of overweight and obesity in Thailand [Internet]. 2013 [Cited 2013 June 21]. Available from: http://raipoong.com/media/news_file/270-ระบาดวิทยาของภาวะอ้วนและอ้วนลงพุงในประเทศไทย-20130621112044.pdf(in Thai).
3. Christakis NA, Fowler JH. The spread of obesity in a large social network over 32 years. New England Journal of Medicine 2007;4:370-9.
4. Ruth SM, Woo J. Prevention of overweight and obesity: How effect is the current public health approach. International Journal of Environmental Research and Public Health 2010;7:765-83.
5. Arora R, Arora D, Patunamond J. Adverse pregnancy outcomes in women with high pre-pregnancy body mass index. Open Journal of Obstetrics and Gynecology 2013;3,285-91.doi:10.4236/ojog.2013.32053
6. Ovesen P, Rasmussen S, Kesmodel U. Effect of pregnancy maternal overweight and obesity on pregnancy outcome. The American College of Obstetrics and Gynecology 2011;2,305-12.
7. Bandura A. Recycling misconceptions of perceived self-efficacy. Cognitive Therapy and Research 1984;8,231-55.
8. Bandura A. Social foundation of thought and action: A social cognitive theory. Englewood Cliffs (NJ): Prentice Hall; 1986.
9. Srisatidnarakul B. Methodology of nursing research. Bangkok: You & I Inter Media; 2010.(in Thai).
10. Ampat C, Wichakul P, Wichianprapa A. The relationship between perceived self-efficacy and health behaviors during childbirth among first time mothers [Research report]. Chanthaburi:Phrapokklao Nursing College; 2010.(in Thai).
11. Plangwan W, Wattananukulkiat S. Effects of self-efficacy enhancement program on nutritional health behavior of pregnant adolescents. Journal of Nurses’ Association of Thailand, North-Eastern Division 2012;3(2),16-22.(in Thai).
12. Mungkamanee S. The effect of using the perceived self-efficacy promoting program in self care on health promoting behavior of primigravida adolescents [Master thesis]. Bangkok: Chulalongkorn University; 2004.(in Thai).
13. Institute of Medicine. Weight gained during pregnancy: Reexamining the guidelines. Washington, DC: National Academy; 2009.
14. Roach JB, Yadrick MK, Johnson JT, Boudreaux LJ, Forsythe WA, Billon W. Using selfefficacy to predict weight loss among young adults. Journal of the American Dietetic Association 2003;103,1357-9.
15. Warziski MT, Sereika SM, Styn MA, Music E, Burke LE. Changes in self-efficacy and dietary adherence: The impact on weight loss in the PREFER study. Journal of Behavioral Medicine 2008;31,81-92.