ผลการใช้โปรแกรมการวางแผนจำหน่าย ต่อความรู้ และความสามารถในการทำกิจกรรม ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke unit) โรงพยาบาลอุดรธานี

ผู้แต่ง

  • ยุพาพร หัตถโชติ โรงพยาบาลอุดรธานี

คำสำคัญ:

การวางแผนจำหน่ายโรคหลอดเลือดสมอง

บทคัดย่อ

รวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบควมรู้ ควมสรถในกรทำกิจกรรมของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่ได้รับโปรแกรมกรวงแผนจำหน่ย (กลุ่มทดลอง) และกลุ่มที่ได้รับกรดูแลปกติ กลุ่มตัวอย่งได้แก่ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่เข้รับกรรักษในหอผู้ป่วย stroke unit วันที่ 1 มิถุนยน – 31 กรกฎคม 2559 จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มควบคุมได้รับกรดูแลตมปกติและกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมกรวงแผนจำหน่ยเพิ่มเติมจกปกติ กลุ่มละ 30 คน รวม 60 คน เลือกกลุ่มตัวอย่งแบบเจะจงเครื่องมือที่ใช้ในกรเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินควมสรถในกรทำกิจกรรมของผู้ป่วย แบบวัดควมรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยหรือผู้ดูแลซึ่งผ่นกรตรวจสอบควมตรงโดยผู้เชี่ยวชญ และทดสอบควมเชื่อมั่นด้วยวิธีอัลฟของครอนบค ได้ค่ควมเชื่อมั่นเท่กับ 0.86 เครื่องมือที่ใช้ในกรทดลอง ประกอบด้วยแผนกรจำหน่ยผู้ป่วย เก็บรวบรวมข้อมูล จกเวชระเบียน วิเคระห์ด้วยสถิติ Independent t-test และ Paired samples t-test บนโปรแกรม SPSS V.16

ผลกรวิจัย ก่อนกรทดลอง ทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง มีควมรู้ ควมสรถในกรทำกิจกรรมไม่แตกต่งกัน (p-value = 0.729, 0.566) หลังกรใช้โปรแกรมกรวงแผนจำหน่ย พบว่า กลุ่มทดลองมีความรู้และสามารถในการทำกิจกรรมและระดับความรู้มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p-value = 0.001, 0.001) และเปรียบเทียบก่อนและหลังในกลุ่มทดลอง พบว่า หลังจากได้รับโปรแกรมการวางแผนจำหน่ายมีความรู้และความสามารถในการทำกิจกรรมมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value = 0.00,0.00)

ข้อเสนอแนะ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองควรได้รับการดูแลใน stroke unit โดยพยาบาลที่เชี่ยวชาญเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง เพื่อให้ได้รับการดูแลตามแนวทางการดูแลรักษาที่ได้มาตรฐาน ทีมสหสาขาวิชาชีพควรมีแผนการจำหน่ายที่ชัดเจน และควรปฏิบัติตามแผนการจำหน่ายและแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอย่างเคร่งครัด จะทำให้สามารถฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็วลดภาวะแทรกซ้อนลดจำนวนวันนอน ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยบุคลากรทีมสุขภาพควรมีการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงของโรคและอาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง แก่ผู้ป่วย ผู้ดูแล และประชาชนทั่วไปเพื่อ ให้ตระหนักถึงภัยอันตราย และสามารถป้องกันไม่ให้เกิดโรคหลอดเลือดสมองได้

References

1. สมศักดิ์ เทียมเก่า. การพัฒนาเครือข่าย stroke fast track Srinagarind Med J 2013 ; 28: 315-319
2. อาคม อารยาวิชานนท์.โรคหลอดเลือดสมองในเวชปฏิบัติ.วารสาร Medical Journalof Ubon hospital ปีที่ 33 : 2556 ; ISBN, 9786163352897
3. Stroke Awareness Among Rural Residents. American Heart Association [AHA]. 2006; National Stroke Association [NSA], 2006: Available from :http://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1300/J010v42n02_05
4. Ministry of public health.Burden ofdisease and injuries in Thailand Priority setting for policy 2002;A14 – 16 ,58.
5. นลินี พสุคันธภัค, สายสมร บริสุทธิ์, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, บรรณาธิการ. แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสำหรับพยาบาลทั่วไป.กรุงเทพมหานครสถาบันประสาทวิทยา ; 2556
6. ทัศนีย์ ตันติฤทธิ์ศักดิ์.แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบและอุดตัน. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร สถาบันประสาทวิทยา; 2556
7. ศูนย์ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ รายงานผู้ป่วยประจำปี 2557
8. สมนึก สกุลหงส์โสภณ.ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยอัมพาต. มหาวิทยาลัยมหิดล ; 2554
9. Mckeeham, K.M., &Coulton, C.J.A system approach to program development for continuity of care in hospital. In Continuity of care : Advance the concept of discharge planning. St Louis Mo: Grune&Stration Orlando Floride ; 1985
10. Mahoney FI, Barthel D. “Functional evaluation: the Barthel Index.” Maryland State Medical Journal 1965;14:56-61. Used with permission.
11. Benjamin,S bloom. Learning for mastery . Evaluation comment Center.for the study of instructionprogram.University of California at LOS Angeles. 1986 ; 2:47-67
12. อรุณี ชาญชัยนิ่มนวล, ชูยิ่งสกุลทิพย์, ปิ่นนเรศ กาศอุดม. ผลของการใช้โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต่อระดับความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน อัตราการเกิดภาวะ แทรกซ้อนและระดับความพึงพอใจในการดูแลตามโปรแกรมของผู้ดูแล/ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระยอง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี: ปีที่ 25: 2557:78

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-04