ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นโดยอาสาสมัครกู้ภัยในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • จินดาพร ลันดา หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นำและนวัตกรรมการจัดการสุขภาพ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย

คำสำคัญ:

การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน, ภาวะหัวใจหยุดเต้น, ภาวะหยุดหายใจ, อาสาสมัครกู้ภัย

บทคัดย่อ

mceclip0-8df5ec5a1d500980d9ba2aba4b5e9b88.png

References

American Heart Association. Heart and Stroke statistic update [Internet]. 2015 [cited 2016 January 20]. Available from: http://circ.ahajournals.org/content/early /2014 /12/18/CIR.000000000000015

Holmberg, M. J., Issa, M. S., Moskowitz, A., Morley, P., Welsford, M., Neumar, R. W., Wang, T. Vasopressors during adult cardiac arrest: a systematic review and meta-analysis. Resuscitation 2019;139:106-121.

ข้อมูลสารสนเทศของโรงพยาบาลขอนแก่น [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 5 พฤษภาคม2564]. เข้าถึงได้จาก: https://intranet.kkh.go.th

American Heart Association. AHA Guidelines update for CPR and ECC [Internet]. 2015 [cited 2016 January 2]. Available from: http://www.cercp.org/images/stories/recursos/Guias%202015/Guide lines-RCP-AHA-2015-Full.pdf

เพ็ญพักตร์ ไชยสงเมือง, ชัจคเณค์ แพรขาว. ผลของโปรแกรมการสอนการช่วยเหลือขั้นพื้นฐานภาวะหัวใจหยุดเต้นในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.ว.พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2561; 28(2): 118-132.

วราพรรณ เพ็งแจ่ม. ความรู้การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 จังหวัดนครราชสีมา. สมาคมสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย 2560; 6(2): 63-71.

วริศรา เบ้านู. ประสิทธิผลของโปรแกรมการแนะนำการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานทางโทรศัพท์ กรณีพบผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. ว.วิชาชีพเพื่อ การวิจัย 2561; 6: 37-47.

สุกัญญา วรรณศร, สืบตระกูล ตันตลานุกุล, กิตติพร เนาว์สุวรรณ. ศึกษาการเปรียบเทียบผลการสอนการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานระหว่างโปรแกรมการสอนอย่างละเอียดกับการสอนโดยใช้วิดีโอประกอบในนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย จังหวัดน่าน. ว.โรงพยาบาลแพร่ 2561; ฉบับพิเศษ: 111-123.

พิมพ์รดา สิริจิตต์ธงชัย. การพัฒนาความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่กรมควบคุมโรคกับการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าอัตโนมัติ. ว.สหวิทยาการวิจัยฉบับบัณฑิตศึกษา 2561; 7(2): 35-41.

ปัญจ์ปพัชรภร บุญพร้อม, นาถนัดดา มรกตศรีวรรณ, สิทธิพันธุ์ ไชยนันทน์. ผลการสำรวจระดับความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แห่งหนึ่งในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขตบางกอกใหญ่. ว.นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 2562; 2(1): 73-83.

นิตยา รัชโพธิ์. การพัฒนาความรู้และทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในกลุ่มบุคลากรทั่วไปในโรงพยาบาลวาปีทุม [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 30 สิงหาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://mkho.moph.go. th/research2018/frontend/web/index.php/re-search2018view/153

พรพิไล นิยมถิ่น. การพัฒนารูปแบบการอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงสำหรับทีมกู้ชีพ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย จังหวัดเลย. ว.โรงพยาบาลสกลนคร 2562; 22(3): 22-30.

Olasveengen, T. M., Semeraro, F., Ristagno, G., Castren, M., Handley, A., Kuzovlev, A., .Perkins, G. D. European Resuscitation Council Guidelines 2021: Basic Life Support. Resuscitation 2021;161:98-114.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-01