การปรับแนวเขตอุทยานแห่งชาติทับลาน ผลกระทบต่อแหล่งมรดกโลกกลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
Abstract
อุทยานแห่งชาติทับลานเป็นส่วนหนึ่งของแหล่งมรดกโลกกลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ (Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex) การปรับปรุงแนวเขตอุทยานแห่งชาติทับลานแม้จะมีการระบุในเอกสารการนำเสนอแหล่ง (Nomination Dossier) ว่าจะมีการปรับพื้นที่ภายในปี พ.ศ. 2550 โดยกันแนวเขตที่ดินที่มีคนอยู่อาศัย และพื้นที่เสื่อมโทรมจำนวน 437.73 ตารางกิโลเมตรออก และเพิ่มพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 176.27 ตารางกิโลเมตร ซึ่งปัจจุบันจากการดำเนินการตามโครงการ One Map ในปี พ.ศ. 2567 กลับพบว่า จะมีการปรับกันพื้นที่ออกจากอุทยานแห่งชาติทับลานราว 265,286 ไร่ หรือประมาณ 424.46 ตารางกิโลเมตร โดยไม่ได้มีการเพิ่มพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามที่เสนอ ดังนั้นการปรับพื้นที่ดังกล่าวนอกจากจะไม่เป็นไปตามเอกสารการนำเสนอแหล่งแล้วยังอาจส่งผลกระทบต่อคุณค่าโดดเด่นอันเป็นสากล (Outstanding Universal Value: OUV) ของแหล่งด้วย ซึ่งผลกระทบดังกล่าวย่อมส่งผลให้เกิดปัญหาต่อสถานภาพของแหล่งมรดกโลกได้
References
ประยุทธ สิทธิพันธ์. (2552). ประวัติศาสตร์ประพาสต้นของพระพุทธเจ้าหลวง (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพมหานคร: สร้างสรรค์บุคส์.
อ็องรี มูโอต์. (2558). บันทึกการเดินทางของอ็องรี มูโอต์ ในราชอาณาจักรสยาม กัมพูชา ลาว และอินโดจีนตอนกลางส่วนอื่น ๆ [Voyage dans les royaumes de Siam, de Cambodge, de Laos et autres parties centrales de I’Indo-chine, par feu Henri Mouhot, naturaliste français 1858-1861-Texte et dessins inédits] (กรรณิการ์ จรรย์แสง, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: มติชน. (ต้นฉบับพิมพ์ปี 1865).
การุณย์ พิมพ์สังกุล. (2566). ปัญหาทางกฎหมายและนโยบายในการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนกันของที่ดินของรัฐ ศึกษากรณีการทับซ้อนกันของที่ดินในเขตอุทยานแห่งชาติทับลาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขากฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์). สืบค้นจาก https://ethesisarchive.library. tu.ac.th/thesis/2023/TU_2023_6301034515_17665_27642.pdf.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. (ม.ป.ป.). เที่ยวตามทางรถไฟ. กรุงเทพฯ: ตรีรณสาร ที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ หลวงกำจรนิติสาร (30 เมษายน 2498). สืบค้นจาก https://finearts.go.th/chonburilibrary/view/15105-เที่ยวตามทางรถไฟ.
นันทชัย พงศ์พัฒนานุรักษ์ และประทีป ด้วงแค. (2553). นิเวศวิทยาของการออกแบบแนวเชื่อมต่อสำหรับสัตว์ป่า: แนวคิดในเบื้องต้นสำหรับประเทศไทย. Journal of Wildlife in Thailand. 17(1), 1-25 สืบค้นจาก https://kukr.lib.ku.ac.th/db/BKN_FOR/search_detail/dowload_digital_file/35722/46483.
IUCN. (2005). World Heritage Nomination-IUCN Technical Evaluation Dongphayayen-Khao Yai Forest Complex (Thailand) ID No590 Rev. N.P.: n.p. Retrieve from https://whc.unesco.org/en/list/590/documents/.
The Royal Thai Government. (2005). Submission for Nomination of the Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex. N.P.:n.p. Retrieve from https://whc.unesco.org/ uploads/nominations/590rev.pdf.
ไทยโพสต์. (2567). ‘ลุงโชค’ ย้อนยุคสงครามคอมมิวนิสต์ ถึงเขตป่าทับลาน ทับซ้อน ‘หมู่บ้านไทยสามัคคี’. สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/x-cite-news/617803/.
มูลนิธิสืบนาคะเสถียร. (2567). แถลงการณ์ สมาคมอุทยานแห่งชาติ กรณีการปรับปรุงแนวเขตอุทยานแห่งชาติทับลาน. สืบค้นจาก https://www.seub.or.th/bloging/ news/2024-238/.
โรจน์ คุณเอนก. (2567). ถามตรง ตอบชัด เรื่องอุทยานแห่งชาติ ทับลาน. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/environment/1135766.
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์. (2545). การกลับมาของกระทิงแห่งเขาแผงม้า. สืบค้นจาก https://www.sarakadee.com/feature/2002/02/phaeng_ma_mountain.htm.
ส่วนจัดการพื้นที่อนุรักษ์สัตว์ป่า. (ม.ป.ป.) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาแผงม้า. สืบค้นจาก https://portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=d989ac5c-e531-435f-8e2f-3df4b935eec7.pdf.
สำนักอุทยานแห่งชาติ . (2567). อช.ทับลาน. สืบค้นจาก https://nps.dnp.go.th/parksdetail.php?id=127&name=อช.ทับลาน.
สำนักอุทยานแห่งชาติ. (2566). อช. ตาพระยา. สืบค้นจาก https://nps.dnp.go.th/parksdetail.php?id=4&name=อช.ตาพระยา.
สำนักอุทยานแห่งชาติ. (2564). อช. ตาพระยา. สืบค้นจาก https://nps.dnp.go.th/parksdetail.php?id= 2&name=อช.ตาพระยา.
สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า. (ม.ป.ป.). เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่. สืบค้นจาก https://portal.dnp.go.th/DNP/FileSystem/download?uuid=e6b3d31a-b9bc-4b8b-a26c-9404c4cd8197.pdf.
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่. (ม.ป.ป.). รู้จักอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่. สืบค้นจาก https://www.khaoyainationalpark.com/about/get-to-know.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 Journal of Multidisciplinary Academic Research and Development (JMARD)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.