ความแข็งแกร่งในชีวิตและภาวะซึมเศร้า ของประชาชนในชุมชนแห่งหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: การวิจัยเชิงบรรยายแบบ ศึกษาความสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิต โดยรวมและองค์ประกอบย่อยของความแข็งแกร่ง ในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าของประชาชนในชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนใน ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี อายุระหว่าง 18-60 ปี จำนวน 178 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ เฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล มี 3 ส่วน ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูล ทั่วไป 2) แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิต และ 3) แบบวัดภาวะซึมเศร้า (CES-D) ฉบับภาษา ไทย วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติบรรยาย และ สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน
ผลการศึกษา: 1) ร้อยละ 21.3 ของประชาชน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้มีภาวะซึมเศร้า 2) คะแนนความแข็งแกร่งในชีวิตโดยรวม และ แต่ละองค์ประกอบของความแข็งแกร่งในชีวิต ได้แก่ ฉันมี ฉันเป็น และฉันสามารถ มีความ สัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าของประชาชน วัยผู้ใหญ่ในชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = -.461, rs = -.434, rs = -.432, rs = -.409, p < .01, ตามลำดับ)
สรุป: ผลการศึกษาในครั้งนี้ให้ข้อมูลสำคัญ ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของความแข็งแกร่ง ในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าในประชาชนวัยผู้ใหญ่ ในชุมชน ดังนั้นผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าควรมีการ เสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตของประชาชน ในชุมชน เพื่อป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้า
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย
References
ธวัชชัย วรพงศธร, วงเดือน ปั้นดี, และสมพร เตรียมชัยศรี. (2533). คุณลักษณะความตรง ของแบบสอบถามความเศร้า CES-D. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 21, 26-45.
นฤมล สมรรคเสวี และโสภิณ แสงอ่อน. (2558). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าใน นักศึกษาพยาบาล. วารสารการพยาบาล จิตเวชและสุขภาพจิต, 29(3), 11-27.
นิดา ลิ้มสุวรรณ และศิริไชย หงษ์สงวนศรี. (2555). พัฒนาการทางจิตใจ. ใน มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์ (บรรณาธิการ). จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. (ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 3, หน้า 1-18). กรุงเทพฯ: ภาค วิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
นันทภัค ชนะพันธ์, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, ประภา ยุทธไตร, และรณชัย คงสกนธ์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทาง สังคมและการรู้จักตนเองกับการคืนความ สำคัญให้ตนเองของผู้ป่วยหญิงโรคซึมเศร้า. วารสารสภาการพยาบาล, 28(2), 44-57.
พัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558). ความแข็งแกร่งใน ชีวิต: แนวคิด การประเมิน และการประยุกต์ ใช้. กรุงเทพฯ: จุดทอง.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, วารีรัตน์ ถาน้อย, โสภิณ แสงอ่อน, มาณวิภา พัฒนมาศ, และช่อทิพย์ อินทรักษา. (2560). ปัจจัยทำนายความ แข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 31(1), 13-28.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และจริยา วิทยะศุภร. (2556). ความแข็งแกร่งในชีวิต เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และสุขภาพ จิตของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารการ พยาบาลและสุขภาพ, 7(2), 12-26.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และทัศนา ทวีคูณ. (2553). การพัฒนาแบบประเมิน ความแข็งแกร่งในชีวิต. รายงานการวิจัย โครงการพัฒนาศักยภาพประชากรไทย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และทัศนา ทวีคูณ. (2555). โปรแกรมการเสริมสร้าง ความแข็งแกร่งในชีวิต. โครงการพัฒนาศักยภาพประชากรไทย คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ: จุดทอง.
พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, นพพร ตันติรังสี, วรวรรณ จุฑา, อธิบ ตันอารีย์, ปทานนท์ ขวัญสนิท, สาวิตรี อัษณางค์กรชัย และคณะ. (2559). ความชุกของโรคจิตเวชและปัญหา สุขภาพจิต: การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพ จิตของคนไทยระดับชาติ ปี พ.ศ. 2556. สำนักบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรม สุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี: บริษัท บียอนด์พับลิสชิ่ง จำกัด.
พีรพนธ์ ลือบุญธวัชชัย. (2549). จิตบำบัด สัมพันธภาพระหว่างบุคคล: ทางเลือกใหม่ ของการรักษาโรคซึมเศร้า. วารสารสมาคม จิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 51(2), 117-131.
มะลิวรรณ วงษ์ขันธ์, พัชรินทร์ นินทจันทร์, และ โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ปัจจัยที่มีความ สัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 29(1), 57-75.
วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล และ พนม เกตุมาน, (2540). การศึกษาแบบสอบวัดความซึมเศร้าโดย เครื่องมือ The Center for Epidemiologic Studies-Depression Scale (CES-D) ใน คนไทย. สารศิริราช, 49(5), 442-448.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2554). ทฤษฏีจิตวิทยา บุคลิกภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หมอ ชาวบ้าน.
สถิตย์ วงศ์สุรประกิต และสมพร สันติประสิทธิ์กุล. (2555). สถานการณ์โรคซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยง โดยการตรวจคัดกรอง ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงราย. วารสารสภาการพยาบาล, 27(3), 91-105.
สมจิต หนุเจริญกุล. (2537). ความเครียดกับการ ดูแลตนเอง. ใน สมจิต หนุเจริญกุล (บก.), การดูแลตนเอง: ศาสตร์และศิลปทางการ พยาบาล (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วีเจ พริ้นติ้ง.
สายฝน เอกวรางกูร. (2554). รู้จัก เข้าใจ ดูแล ภาวะซึมเศร้า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล. (2558). ระบาดวิทยาของ โรคซึมเศร้า. ในสุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล และสรยุทธ วาสิกนานนท์(บรรณาธิการ.), ตำราโรคซึมเศร้า (หน้า 29-47). ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (2558). รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บ ของประชากรไทย พ.ศ. 2556. นนทบุรี: บริษัท เดอะกราฟิโก ซิสเต็มส์ จำกัด.
โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ภาวะซึมเศร้า: ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยปกป้อง และความแข็งแกร่งในชีวิต. ใน พัชรินทร์ นินทจันทร์ (บรรณาธิการ.), ความแข็งแกร่งในชีวิต: แนวคิด การประเมิน และการประยุกต์ใช้ (หน้า 93-114). กรุงเทพฯ: จุดทอง.
Aroian, K. J., & Norris, A. E. (2000). Resilience, stress, and depression among Russian immigrants to Israel. Western Journal of Nursing Research, 22(1), 54-67.
Beeber, L. S. (1987). The relationship of self-esteem, social support, and depressive symptoms in women. Unpublished Dissertation. The University of Rochester, Rochester.
Beeber, L. S. (1998). Social support, self-esteem, and depressive symptoms in young American women. IMAGE: Journal of Nursing Scholarship, 30(1), 91-92.
Bitsika, V., Sharpley, C. F., & Peters, K. (2010). How is resilience associated with anxiety and depression? Analysis of factor score interactions within a homogeneous sample. German Journal of Psychiatry, 13, 9-16.
Camardese, G., Leone, B., Serrani, R., Szczepanczyk, P., Walstra, C., & Janiri, L. (2014). Resilience and depression. XVI World Congress of Psychiatry. Madrid. Retreived May 27, 2018 from https://www.researchgate.net/ publication/273546722
Campbell-Sillsa, L., Cohan, S., & Steina, M. B. (2006). Relationship of resilience to personality, coping, and psychiatric symptoms in young adults. Behaviour Research and Therapy, 44(4), 585–599.
Carvalho, I. G., Bertolli, E. S., Paiva, L., Rossi, L. A., Dantas, R. A. S., & Pompeo, D. A. (2016). Anxiety, depression, resilience and self-esteem in individuals with cardiovascular diseases. Revista Latino- Americana de Enfermagem, 24, 1-10. doi: 10.1590/1518-8345.1405.2836
Chung, E. (1995). Social support and self-efficacy as mediators between stress and depressive symptoms in older adults. Unpublished Dissertation, University of Michigan, Ann Arbor.
Chung Um, C., & Dancy, B. L. (1999). Relationship between coping strategies and depression among employed Korean immigrant wives. Issues in Mental Health Nursing, 20, 485–494.
Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavioral sciences (2nd ed.). Hillsdale, NJ: Lawrence Earlbaum Associates.
Cuijpers, P., & Smit, F. (2008). Subclinical depression: A clinically relevant condition? Tijdschrift voor Psychiatrie, 50(8), 519-28.
Dahlin, M., Joneborg, N., & Runeson, B. (2005). Stress and depression among medical students: a cross-sectional study. Medical Education, 39, 594–604.
Denny, S., Clark, T. C., Fleming, T., & Wall, M. (2004). Emotional resilience: Risk and protective factors for depression among alternative education students in New Zealand. American Journal of Orthopsy¬chiatry, 74(2), 137-149.
Duangduen, B. (2004). The relationship of learned resourcefulness social support and depressive symptoms. Unpublished Master of Nursing Science, Psychiatric-Mental Health Nursing, Mahidol University.
Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A. G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research Methods, 39, 175-191.
Friborg, O., Hjemdal, O., Rosenvinge, J. H., Martinussen, M., Aslaksen, P. M., & Flaten, M. A. (2006). Resilience as moderator of pain and stress. Journal of Psychosomatic Research, 61, 213-219.
Garie´py, G., Honkaniemi, H., & Quesnel-Valle´e, A. (2016). Social support and protection from depression: Systematic review of current findings in Western countries. The British Journal of Psychiatry, 209, 284–293. doi: 10.1192/bjp.bp.115.169094
Ganster, D., & Victor, B. (1988). The impact of social support on mental and physical health. British Journal of Medical Psychology, 61, 17-36.
Grav, S., Hellze`n, O., Romild, U., & Stordal, E. (2012). Association between social support and depression in the general population: The HUNT study, a cross-sectional survey. Journal of Clinical Nursing, 21(1-2), 111–120. doi: 10.1111/j.1365-2702.2011. 03868.x
Grotberg, E. H. (1995). A guide to promoting resilience in children: Strengthening the human spirit. The Hague: The Bernard van Leer Foundation.
Grotberg, E. H. (1997). The International resilience project: Findings from the research and the effectiveness of interventions. Retrieved June 13, 2018, from https://files.eric.ed. gov/fulltext/ED419584.pdf
Grotberg, E. H. (1999a). Countering depression with the five building blocks of resilience. Reaching Today’s Youth, 4(1), 65-72.
Grotberg, E. H. (1999b). Tapping your inner strength: How to find the resilience to deal with anything. Oakland: New Harbinger.
Grotberg, E. H. (2003). Resilience for today: Gaining strength from adversities. Con¬necticut: Praeger Publishers.
Hammen, C. (2005). Stress and depression. Annual Review of Clinical Psychology, 1, 293-319.
Hjemdal, O., Aune, T., Reinfjell, T., Stiles, T. C., & Friborg, O. (2007). Resilience as a predictor of depressive symptoms: A correlational study with young adolescents. Clinical Child Psychology and Psychiatry, 12(1), 91-104.
Hjemdal, O., Friborg, O., Stiles, T. C., Rosenvinge, J. H., & Martinussen, M. (2006). Resilience predicting psychiatric symptoms: A prospective study of protective factors and their role in adjustment to stressful life events. Clinical Psychology and Psycho¬therapy, 13, 194-201.
Hjemdal, O., Vogel, P. A., Solem, S., Hagen, K., & Stiles, T. C. (2011). The relationship between resilience and levels of anxiety, depression, and obsessive-compulsive symptoms in adolescents. Clinical Psychol¬ogy and Psychotherapy, 18, 314-321.
Horwath, E., Johnson, J., Klerman, G. L., & Weissman, M. M. (1994). What are the public health implications of subclinical depressive symptoms? Psychiatric Quarterly, 65(4), 323-337.
Izadinia, N., Amiri, M., Jahromi, R. G., & Hamidi, S. (2010). A study of relationship between suicidal ideas, depression, anxiety, resilience, daily stresses and mental health among Tehran university students. Procedia Social and Behavioral Sciences, 5, 1515-1519.
Kant, G. L., D’Zurilla, T. J., & Maydeu-Olivares, A. (1997). Social problem solving as a mediator of stress-related depression and anxiety in middle-aged and elderly community residents. Cognitive Therapy and Research, 21(1), 73-96.
Kircanski, K., Joormann, J., & Gotlib, I. H. (2012). Cognitive aspects of depression. Wiley Interdisciplinary Reviews: Cognitive Science, 3(3), 301–313.
Lazarus, R. S., & Folkman, S. (1984). Stress, appraisal, and coping. New York: Springer.
Manna, G., Falgares, G., Ingoglia, S., Como, M. R., & De Santis, S. (2016). The Relationship between self- esteem, depression and anxiety: Comparing vulnerability and scar model in the Italian context. Mediterranean Journal of Clinical Psychology, 4(3), 1-17.
Martínez Hernáez, A., Carceller Maicas, N., DiGiacomo, S. M., & Ariste, S. (2016). Social support and gender differences in coping with depression among emerging adults: A mixed methods study. Child and Adolescent Psychiatry and Mental Health, 10(2), 1-11.
Miller, A. M., & Chandler, P. J. (2002). Acculturation, resilience, and depression in midlife women from the Former Soviet Union. Nursing Research, 51(1), 26-32.
Orth, U., & Robins, R. W. (2013). Understanding the link between low self-esteem and depression. Current Directions in Psycho¬logical Science, 22(6), 455–460.
Radloff, L. S. (1977). The CES-D Scale: A self-report depression scale for research in the general population. Applied Psychological Measurement, 1, 385-401.
Rehm, L. (2015). Cognitive and behavioral theories of depression. USA: John Wiley & Sons.
Roy, A., Sarchiapone, M., & Carli, V. (2007). Low resilience in suicide attempters: Relationship to depressive symptoms. Depression and Anxiety, 24, 273-274.
Rutter, M. (1987). Psychosocial resilience and protective mechanisms. American Journal of Orthopsychiatry, 57(3), 316-331.
Sadock, B. J., Sadock, V. A., & Ruiz, P. (2015). Kaplan & Sadock synopsis of psychiatry: Behavioral sciences/clinical psychiatry (11th ed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.
Seok, J., Lee, K., Kim, W., Lee, S., Kang, E., Ham, B., et al., (2012). Impact of early-life stress and resilience on patients with major depressive disorder. Yonsei Medical Journal, 53(6), 1093-1098.
World Health Organization (WHO). (2017). Depression and other common mental disorders: Global health estimates. Geneva: WHO Document Production Services.
World Health Organization (WHO). (2018). Depression: Let’s talk. Retreived May 29, 2018 from https://www.searo.who.int/thai¬land/news/technical-factsheet-depression-thai.pdf?ua=1
Wingenfeld, K., Mensebach, C., Rullkoetter, N., Schlosser, N., Schaffrath, C., Beblo, T. et al. (2009). Relationship between coping with negative life - events and psychopathology: Major depression and borderline personality disorder. Psychology and Psychotherapy: Theory, Research and Practice, 82, 421-425.
Wingo, A. P., Wrenn, G., Pelletier, T. Gutman, A. R., Bradley, B., & Ressler, K. J. (2010). Moderating effects of resilience on depression in individuals with a history of childhood abuse or trauma exposure. Journal of Affective Disorders, 126(3), 411-414.
Ziaian, T., Anstiss, H.D., Antoniou, G., Baghurst, P., & Sawyers, M. (2012). Resilience and its association with depression, emotional and behavioral problems, and mental health service utilization among refugees adoles¬cents living in south Australia. International Journal of Population Research, 2012, 1-10.