ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ ความผูกพันใกล้ชิด กับเพื่อน และการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม กับความแข็งแกร่งในชีวิต ในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสไทยในจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง

ผู้แต่ง

  • ศิริพร ณ นคร โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • พัชรินทร์ นินทจันทร์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • โสภิณ แสงอ่อน โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • นันทิยา เอกอธิคมกิจ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

วัยรุ่นด้อยโอกาส, ความแข็งแกร่งในชีวิต, เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ, ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน, การรับรู้การสนับสนุนทางสังคม

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: การวิจัยเชิงบรรยายความ สัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความ สัมพันธ์ระหว่าง เพศ อายุ เหตุการณ์ที่สร้างความ ยุ่งยากใจ ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน และการรับรู้ การสนับสนุนทางสังคม กับความแข็งแกร่งในชีวิต ในวัยรุ่นด้อยโอกาสในจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง

วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่ กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ของโรงเรียน สำหรับเด็กด้อยโอกาสแห่งหนึ่งจากจังหวัดใน ภาคกลางจำนวน 414 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลมี 5 ส่วน ได้แก่ 1) แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินความแข็งแกร่ง ในชีวิต 3) แบบประเมินเหตุการณ์ที่สร้างความ ยุ่งยากใจ 4) แบบประเมินความผูกพันใกล้ชิดกับ เพื่อน และ 5) แบบประเมินการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติ สหสัมพันธ์แบบพอยท์ไบซีเรียล สถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

ผลการศึกษา: ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า อายุ ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน และการรับรู้การ สนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ ความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .245, r = .237, r = .448, ตามลำดับ, p < .001) เพศมีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .127, p < .01) โดยเพศหญิง มีแนวโน้มที่จะมีความแข็งแกร่งในชีวิตสูงกว่า เพศชาย ส่วนเหตุการณ์ที่ สร้างความยุ่งยากใจมี ความสัมพันธ์ทางลบกับความแข็งแกร่งในชีวิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.198, p < .001)

สรุป: ผลการศึกษาครั้งนี้จะเป็นการเสริม สร้างความรู้เกี่ยวกับความแข็งแกร่งในชีวิตและ สามารถใช้ในการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างความ แข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสไทยต่อไป

References

กองสวัสดิการสังคม งานสวัสดิภาพเด็กและ เยาวชน. (2557). สาระสำคัญ คำอธิบาย ความหมายเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2559, จาก www.nmt.or.th/kalasin/thakhantho

จุไรรัตน์ ทองคำชื่นวิวัฒน์. (2559). การสื่อสาร ในครอบครัวเพื่อป้องกันพฤติกรรมเบี่ยงเบน ทางสังคมของเยาวชนไทยในภาคกลาง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยสวนดุสิต สาขา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12, 165-182.

ธีรภา เกษประดิษฐ์. (2544). ปัญหาพฤติกรรม เด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครอง เด็กและเยาวชน 4 ภาค. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2555). การกำหนดขนาด ตัวอย่างและสถิติวิเคราะห์ใหม่ ๆ ที่น่า สนใจ. ใน เอกสารประกอบการบรรยาย ‘Twilight Program’ การนำเสนอผลงานวิจัย แห่งชาติ 2555 (Thailand Research EXPO 2012). ณ ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ราชประสงค์ กรุงเทพมหานคร.

พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2553). ทฤษฎีจิตวิทยา พัฒนาการ. กรุงเทพฯ: แอคทีฟพริ้นท์.

พัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558). ความแข็งแกร่ง ในชีวิต (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: จุดทอง.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, ศรีสุดา วนาลีสิน, ลัดดา แสนสีหา, ขวัญพนมพร ธรรมไทย และ พิศสมัย อรทัย (2554). ความแข็งแกร่ง ในชีวิตและพฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนไทย. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 17(3), 430-443.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน และทัศนา ทวีคูณ. (2555). ผลของโปรแกรมการเสริม สร้างความแข็งแกร่งในชีวิตในนักศึกษา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. วารสาร พยาบาล, 61(2), 18-26.

มะลิวรรณ วงษ์ขันธ์, พัชรินทร์ นินทจันทร์ และ โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ปัจจัยที่มีความ สัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 29(1), 57-75.

มัณฑนา นทีธาร. (2546). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ภาวะซึมเศร้าของเด็กวัยรุ่นในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช, บัณฑิต วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วรรณภา เพชราพันธ์. (2534). การศึกษาความ สัมพันธ์ระหว่างเอกลักษณ์บทบาททางเพศ ของวัยรุ่นกับเอกลักษณ์บทบาททางเพศ ของพ่อแม่ ตามการรับรู้ของตนเอง. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตรมหา- บัณฑิต สาขาจิตวิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิทยากร เชียงกูล. (2552). จิตวิทยาวัยรุ่น: ก้าวข้าม ปัญหาและพัฒนาศักยภาพด้านบวก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สายธาร.

สมภพ เรืองตระกูล. (2551). ตำราจิตเวชเด็กและ วัยรุ่น (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เรือนแก้ว การพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). สถิติทาง การศึกษา ปี 2556. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2560, จาก http://www.bopp-obec.info/ home/?page_id=10968

สินีรัตน์ โชติญาณนนท์. (2550). บทบาทของเพศ บทบาททางเพศ และความเป็นปัจเจกนิยมคติรวมหมู่ต่อการเสียใจภายหลัง และ เป้าหมายการควบคุม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา สังคม, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

โสภิณ แสงอ่อน, พัชรินทร์ นินทจันทร์ และ จุฑาทิพย์ กิ่งแก้ว. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นด้อยโอกาสไทย ในจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง. วารสารการ พยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 32(2), 13-38.

สุริยเดว ทรีปาตี. (2550). พัฒนาการและการปรับตัว ในวัยรุ่น. สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2560, จาก http://www.thaihealth.or.th

สุวิณี ภารา. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความแข็งแกร่ง ในชีวิตของวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหา- บัณฑิต สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ, มหา- วิทยาลัยรามคำแหง.

อมรวิชช์ นาครทรรพ. (2557). สถานการณ์เด็ก เยาวชน และ ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม. สืบค้น เมื่อ 5 มีนาคม 2559, จาก http://www.qlf. or.th/Home/Contents/147

Beiser, M., Hou, F., Hyman, I., & Tousignant, M. (2002). Poverty, family process, and the mental health of immigrant children in Canada. American Journal of Public Health, 92(2), 220-227.

Boonyamalik, P. (2005). Epidemiology of adolescent suicidal ideation: Roles of perceived life stress, depressive symptoms, and substance use. Unpublished Disserta-tion, Johns Hopkins University, USA.

Bouma, E. M., Ormel, J., Verhulst, F. C., & Oldehinkel, A. J. (2008). Stressful life events and depressive problems in early adolescent boys and girls: The influence of parental depression, temperament and family environment. Journal of Affective Disorders, 105(1-3), 185-193. doi: 10.1016/j.jad.2007.05.007

Buhrmester, D. (1990). Intimacy of friendship, interpersonal competence, and adjustment during preadolescence and adolescence. Child Development, 61(4), 1101-1111.

Camara, M., Bacigalupe, G., & Padilla, P. (2017). The role of social support in adolescents: Are you helping me or stressing me out? International Journal of Adolescence and Youth, 22(2), 123 -136. doi:10.1080/02673843.2013.875480

Chopra, G. (2015). Child rights in India: Challenges and social action. New Delhi: Springer India.

Cleverley, K., & Kidd, S. A. (2011). Resilience and suicidality among homeless youth. Journal of Adolescence, 34(5), 1049 - 1054.

Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavioral sciences (2nd ed.). Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum.

DuMont, K. A., Widom, C. S., & Czaja, S. J. (2007). Predictors of resilience in abused and neglected children grown-up: The role of individual and neighborhood character-istics. Child Abuse & Neglect, 31(3), 255 - 274.

Estévez, E., Povedano, A., Jiménez, T. I., & Musitu, G. (2012). Aggression in adoles-cence: A gender perspective. In B. C. Guevara & N. A. Becerra (Eds.), Psycho-logy Aggression: New Research (pp. 37-57). Hauppauge, New York: Nova Science Publishers.

Faircloth, A. L. (2017). Resilience as a mediator of the relationship between negative life events and psychological well-being. Doctoral dissertation, Georgia Southern University. Retrieved July 26, 2018, from https://digitalcommons.georgiasouthern. edu

Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A. G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. The Journal Behavior Research Methods, 39(2), 175-191.

Gau, J. M., Stice, E., Rohde, P., & Seeley, J. R. (2012). Negative life events and substance use moderate cognitive-behavioral adoles-cent depression prevention intervention. Cognitive Behaviour Therapy, 41(3), 241-250. doi:10.1080/16506073.2011. 649781

Graber, R., Turner, R., & Madill, A. (2016). Best friends and better coping: Facilitating psychological resilience through boys’ and girls’ closest friendships. British Journal of Psychology, 107(2), 338-358. doi:10.1111/bjop.12135

Grotberg, E. H. (1995). A guide to promoting resilience in children: Strengthening the human spirit. Netherlands: Bernard Van Leer.

Grotberg, E. H. (1997). The International resilience project: Findings from the research and the effectiveness of interven-tions. Retrieved March 2, 2015 from http://resilnet.uiuc.edu/library/grotb97a. html.

Harmelen, A. L., Kievit, R. A., Ioannidis, K., Neufeld, S., Jones, P. B., Bullmore, et al., (2017). Adolescent friendships predict later resilient functioning across psychosocial domains in a healthy community cohort. Psychological Medicine, 47(13), 2312- 2322.

Heller, S. S., Larrieu, J. A., D’Imperio, R., & Boris, N. W. (1999). Research on resilience to child maltreatment: Empirical considerations. Child Abuse & Neglect, 23(4), 321-338.

Johnson, D. P., Whisman, M. A., Corley, R. P., Hewitt, J. K., & Rhee, S. H. (2012). Association between depressive symptoms and negative dependent life events from late childhood to adolescence. Journal of Abnormal Child Psychology, 40(8), 1385-1400.

Kalkan, M., & Epli-Koç, H. (2011). Perceived social support from friends as determinant of loneliness in a sample of primary school. Online Submission, 8(4), 547-551.

Kidd, S., & Shahar, G. (2008). Resilience in homeless youth: The key role of self-esteem. American Journal of Orthopsychiatry, 78(2), 163-172.

Liu, X., & Tein, J. Y. (2005). Life events, psychopathology, and suicidal behavior in Chinese adolescents. Journal of Affective Disorders, 86(2-3), 195-203.

Markstrom, C. A., Marshall, S. K., & Tryon, R. J. (2000). Resiliency, social support, and coping in rural low-income appalachian adolescents from two racial groups. Journal of Adolescence, 23(6), 693-703.

Mayberry, D. J. (2003). Incorporating inter-personal events within hassle measure-ment. Stress and Health, 19, 97-110. doi:10.1002/smi.961

Pinquart, M. (2009). Moderating effects of dispositional resilience on associations between hassles and psychological distress. Journal of Applied Developmental Psychology, 30(1), 53-60. doi:https://doi. org/10.1016/j.appdev.2008.10.005

Reiss, F. (2013). Socioeconomic inequalities and mental health problems in children and adolescents: A systematic review. Social Science & Medicine, 90, 24-31.

Rew, L., Taylor-Seehafer, M., Thomas, N. Y., & Yockey, R. D. (2001). Correlates of resilience in homeless adolescents. Journal of Nursing Scholarship, 33(1), 33-40.

Salami, S. O. (2010). Moderating effects of resilience, self-esteem and social support on adolescents’ reactions to violence. Asian Social Science, 6(12), 101-110.

Smokowski, P. R., Reynolds, A. J., & Bezruczko, N. (2000). Resilience and protective factors in adolescence: An autobiographical perspective from disadvantaged youth. Journal of School Psychology, 37(4), 425-448.

Stumblingbear-Riddle, G., & Romans, J. S. (2012). Resilience among urban American Indian adolescents: Exploration into the role of culture, self-esteem, subjective well-being, and social support. American Indian and Alaska Native Mental Health research, 19(2), 1-19. Retrieved July 21, 2018 from http://www.ucdenver.edu/caianh

Sun, J., & Stewart, D. (2007). Age and gender effects on resilience in children and adolescents. International Journal of Mental Health Promotion, 9(4), 16-25.

Tusaie, K., Puskar, K., & Sereika, S. M. (2007). A predictive and moderating model of psychosocial resilience in adolescents. Journal of Nursing Scholarship, 39(1), 54-60. doi: http://dx.doi.org/10.1111/ j.1547-5069.2007.00143.x

United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. (2007). A human rights-based approach to education for all. Retrieved March 26, 2017 from http:// unesdoc.unesco.org/images/0015/001548/ 154861e.pdf

Veselska, Z., Geckova, A. M., Orosova, O., Gajdosova, B., van Dijk, J. P., & Reijneveld, S. A. (2009). Self-esteem and resilience: The connection with risky behavior among adolescents. Addictive Behaviors, 34(3), 287-291.

Wight, R. G., Botticello, A. L., & Aneshensel, C. S. (2006). Socioeconomic context, social support, and adolescent mental health: A multilevel investigation. Journal of Youth and Adolescence, 35(1), 115 - 126.

Wild, L. G., Flisher, A. J., & Robertson, B. A. (2013). Risk and resilience in orphaned adolescents living in a community affected by AIDS. Youth & Society, 45(1), 140-162.

Wongpakaran, N., & Wongpakaran, T. (2012). A revised Thai multi-dimensional scale of perceived social support. The Spanish Journal of Psychology, 15(3), 1503-1509.

Yendork, J. S., & Somhlaba, N. Z. (2015). Do social support, self-efficacy and resilience influence the experience of stress in Ghanaian orphans? An exploratory study. Child Care in Practice, 21(2), 140-159. doi:10.1080/13575279.2014.985286

Ziaian, T., de Anstiss, H., Antoniou, G., Baghurst, P., & Sawyer, M. (2012). Resilience and its association with depression, emotional and behavioural problems, and mental health service utilisation among refugee adolescents living in South Australia. International Journal of Population Research, 2012, 1-9.

Zimet, G. D., Dahlem, N. W., Zimet, S. G. & Farley, G. K. (1988). The multidimensional scale of perceived social support. Journal of Personality Assessment, 52, 30-41.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-09-04