ผลของโปรแกรมส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาในผู้ป่วยจิตเภท
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย แบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริม ความร่วมมือในการรับประทานยาในผู้ป่วยจิตเภท
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจิตเภท ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยจิตเวช โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 24 คน แบ่งเข้ากลุ่ม ควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 12 คน เลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์การคัดเลือก ตัวอย่างที่กำหนด กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรม ส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาใน ผู้ป่วยจิตเภท ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาล ตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมส่งเสริมความร่วมมือในการรับ ประทานยาในผู้ป่วยจิตเภท ที่พัฒนาโดยผู้วิจัย 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และ 3) แบบวัด พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษา: 1) หลังสิ้นสุดโปรแกรมฯ 2 สัปดาห์ กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรม ความร่วมมือในการรับประทานยาแตกต่างจาก ก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = - 20.89; p = .000) และ 2) หลังสิ้นสุด โปรแกรมฯ 2 สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรม ความร่วมมือในการรับประทานยาของกลุ่มทดลอง แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = - 15.88; p = .000)
สรุป: โปรแกรมส่งเสริมความร่วมมือในการ รับประทานยาในผู้ป่วยจิตเภท มีประสิทธิภาพใน การช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยจิตเภทมีพฤติกรรมความ ร่วมมือในการรับประทานยามากขึ้น ดังนั้นจึงควรนำโปรแกรมนี้ไปใช้ในหอผู้ป่วยจิตเวช เพื่อช่วยส่งเสริมพฤติกรรมความร่วมมือในการรับประทานยาในผู้ป่วยจิตเภทให้เพิ่มมากขึ้น
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย
References
จันทร์เพ็ญ สุทธิชัยโชติ, สุกฤติยา กุลศรี, และ วัฒานาภรณ์ พิบูลย์อาลักษณ์. (2556). ผลของการเสริมสร้างแรงจูงใจผู้ป่วยจิตเภท ในการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 27(3), 75-86.
ทิพศมัย ทายะรังษี, จีระพรรณ สุริยงค์ และ พิมพาภรณ์ แก้วมา. (2554). ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาต่อการดูแลตนเอง และการกลับมารักษาซ้ำในโรงพยาบาลของผู้ป่วยจิตเภท โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสวนปรุง, 27(1), 5-14.
ธงรบ เทียนสันต์. (2556). ผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวร่วมกับการให้สุขภาพจิตศึกษาต่อพฤติกรรมการใช้ยา ตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เบญญาภา พันตาคม. (2554). ประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยจิตเวชโดยใช้ครอบครัวเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ในการรักษาด้วยยาของผู้ที่เป็นโรคจิตเภท โรงพยาบาลวังเหนือ จังหวัดลำปาง. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.
ปรารถนา คำมีสีนนท์. (2550). การให้สุขภาพจิตศึกษาเพื่อความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทสำหรับผู้ป่วยใน โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์. การศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิต และจิตเวช, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พันธุ์นภา กิตติรัตน์ไพบูลย์. (2544). โครงการอบรมแนวทางการสัมภาษณ์และให้คะแนน BPRS ในรูปแบบของ T-PANSS. ใน เอกสารประกอบการบรรยายเรื่องการประเมิน อาการผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง. (หน้า 1-10). เชียงใหม่: โรงพยาบาลสวนปรุง.
พิเชฐ อุดมรัตน์. (2552). หลักการทั่วไปใน การรักษา. ในพิเชฐ อุดมรัตน์และสรยุทธ วาสิกนานนท์ (บ.ก.), ตำราโรคจิตเภท (หน้า 136 - 150). สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.
พิเชฐ อุดมรัตน์. (2552). Psychoeducation ใน โรคจิตเภท. ในพิเชฐ อุดมรัตน์และสรยุทธ วาสิกนานนท์ (บ.ก.), ตำราโรคจิตเภท (หน้า 271 - 280). สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.
เพชรี คันธสายบัว. (2544). การวิเคราะห์ตัวแปรจำแนกกลุ่มผู้ป่วยจิตเภทที่ป่วยซ้ำและ ไม่ป่วยซ้ำ. ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มาโนช หล่อตระกูล. (2555). โรคจิตเภทและโรค จิตอื่นๆ. ใน มาโนช หล่อตระกูล และ ปราโมชย์ สุคนิชย์ (บ.ก.), ตำราจิตเวชศาสตร์ รามาธิบดี (หน้า 121-141). กรุงเทพฯ : ภาค วิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
วิริญจน์ ไชยจันทร์, ยาใจ สิทธิมงคล, ประภา ยุทธไตร และปิยาณี คล้ายนิล. (2551). ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาต่อทัศนคติ ต่อยาและความร่วมมือในการมาตรวจตามนัดครั้งแรกหลังจำหน่ายผู้ป่วยจิตเภท. วารสารพยาบาลศาสตร์, 27(3), 73-81.
สรินทร เชี่ยวโสธร. (2545). ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยจิตเภทต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุนันท์ จำรูญสวัสดิ์. (2536). ผลของการสร้างสัมพันธภาพการสอนสุขภาพและการให้เงื่อนไขผูกพันต่อความร่วมมือในการ รักษาของผู้ป่วยจิตเภท โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่. ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
หทัยรัตน์ หาคำ. (2552). การส่งเสริมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาในผู้ป่วยจิตเภทโดยใช้การบำบัดเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือในการักษา. การศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Acosta, F. J., Hernández, J. L., Pereira, J., Herrera, J., & Rodríguez, C. J. (2012). Medication adherence in schizophrenia. World Journal Psychiatry, 2(5), 74-82.
Al-yahya, N. M. (2014). Effects of psychoeduca-tion intervention in improving insight and medication compliance of schizophrenic clients, Riyadh, Saudi Arabia. World Journal of Medical Sciences, 11 (3), 289-300.
Anderson, C. M., Hogarty, G. E., & Reiss, D. J. (1980). Family treatment of adult schizophrenic patients: a psycho-educa-tional approach. Schizophrenia Bulletin, 6(3), 490-505.
Bauml, J., Pitschel-Walz, G., Volz, A., Luscher, S., Rentrop, M., Kissling, W., et al. (2016). Psychoeducation improves compliance and outcome in schizophrenia without an increase of adverse side effects: A 7-year follow-up of the munich PIP study. Journal of Schizophrenia Bulletin, 42(suppl 1), 62-70.
Canas, F., Alptekin, K., Azorin, J. M., Dubois, V., Emsley, R., Garcia A. G., et al. (2013). Improve treatment adherence in your patients with schizophrenia. Clinical Drug Investigation, 33, 97-107.
Cohen, J. (1998). Statistical power analysis for the behavioral sciences (2nded.). New Jersey: Lowrence Erlbaum Associates.
Cakir, S., & Gumus, F. (2015). Individual or group psychoeducation: motivation and continua-tion of patients with bipolar disorder. International Journal of Mental Health, 44, 263-268.
Dassa, D., Boyer, L., Benoit, M., Bourcet, S., Raymondet, P., & Bottai, T. (2010). Factors associated with medication non-adherence in patients suffering from schizophrenia: A cross-sectional study in a universal coverage health-care system. Australian & New Zealand Journal of Psychiatry, 44(10), 921-928.
Degmecic, D., Pozgain, I., & Filakovic, P. (2007). Psychoeducation and compliance in the treatment of patients with schizophrenia. Collegium Antropologicum Journal, 31(4), 1111-1115.
Emsley, R., Chiliza, B., Asmal, L., & Harvey, H. B. (2013). The nature of relapse in schizophrenia. BMC Psychiatry, 13(50), 1-8.
Farragher, B. (1999). Treatment compliance in the mental health service. Iris Medication Journal, 92(6), 392-394.
Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A. G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research Methods, 39, 175-191.
Glick, I. D., Stekoll, A. H., & Hays, S. (2011). The role of the family and improvement in treatment maintenance, adherence, and outcome for schizophrenia. Journal of Clinical Psychopharmacology, 31(1), 82-85.
Gumus, F., Buzlu, S., & Cakir, S. (2016). A sample individual psychoeducation model for bipolar disorder. Journal of Psychiatric Nursing, 7(3), 142–147.
Higashi, K., Medic, G., Littlewood, K. J., Diez, T., Granstrom, O., & Hert, M. D. (2013). Medication adherence in schizophrenia: factors influencing adherence and conse-quences of nonadherence: A systematic literature review. Therapeutic Advances in Psychopharmacology, 3(4), 200-218.
Lang, K., Federico, V., Muser, E., Menzin, J., & Menzin, J. (2013). Rates and predictors of antipsychotic non-adherence and hospital-ization in medicaid and commer-cially insured patients with schizophrenia. Journal of Medical Economics, 16(8), 997-1006.
Lincoin, T. M., Wilhelm, K., & Nestoriuc, Y. (2007). Effectiveness of psychoeducation for relapse, symptoms, knowledge, adhe-rence and functioning in psychotic disor-ders: A meta-analysis. Schizophrenia Research, 96(1-3), 232-245.
Mitchell, A. J., & Selmes, T. (2007). Why don’t patients take their medicine? Reasons and solutions in psychiatry. Journal of Continuing Professional Development, 13, 336-346.
Overall, J. E., & Gorham, D. R., (1962). The brief psychiatric rating scale. Schizophrenia Report, 10, 799-812.
Phanthunane, P., Vos, T., Whiteford, H., Bertram, M. & Udomratn, P. (2010). Schizophrenia in Thailand: Prevalence and burden of disease. Population Health Metric, 8(24), 1-8.
Rafiyah, I., & Sutharangsee, W. (2011). Review: Burden on family caregiver caring for patients with schizophrenia and its related factor. Nurse Media Journal of Nursing, 1(1), 29-41.
Roy, R., Jahan, M., Kumari, S., & Chakraborty, P. K. (2005). Reason for drug non-compliance of psychiatric patients: A centre base study. Journal of the Indian Academy of Applied Psychology, 31, 24-28.
Shao, W. C., Chen, H., Chang, Y.F, Lin, W. C., & Ching-Lan Ling, E. (2013). The relation-ship between medication adherence and rehospitalization: A prospective study of schizophrenia patients discharge from psychiatric acute wards. Schizophrenia and Medication Adherence, 60(5), 31-40.
Spiegel, D. (1987). Family involvement in managing schizophrenia. The Western Journal of Medicine, 1(147), 74-75.
Writers, A. M. (2013). Following the six principles developed by the STAY initiative may improve treatment adherence in patients with schizophrenia. Drug & Therapy Perspective, 29(9), 287-290.