ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตของนักเรียนอาชีวศึกษาจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง บรรยากาศในครอบครัว สัมพันธภาพกับเพื่อน รูปแบบการเลี้ยงดู และสถานะทางการเงินกับความแข็งแกร่งในชีวิตของนักเรียนอาชีวศึกษา จังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วิธีการศึกษา: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายความสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เขตอำเภอเมือง จังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 664 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิต แบบสอบถามบรรยากาศในครอบครัว แบบสอบถามสัมพันธภาพกับเพื่อน และแบบสอบถามการอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน
ผลการศึกษา: ผลการวิจัย พบว่า บรรยากาศในครอบครัว สัมพันธภาพกับเพื่อน รูปแบบการเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยและแบบให้ความคุ้มครอง และสถานะทางการเงินมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนรูปแบบการเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย และแบบควบคุมมีความสัมพันธ์ทางลบกับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่จะนำไปใช้ในการพัฒนาแนวทางส่งเสริมความแข็งแกร่งในชีวิตของนักเรียนอาชีวศึกษาต่อไป
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย
References
กรมสุขภาพจิต. (2555). คู่มืออบรมหลักสูตร การเสริมสร้างพลังสุขภาพจิต สำหรับสื่อมวลชนท้องถิ่น. นนทบุรี: สานคิด.
กรมสุขภาพจิต. (2552ก). เปลี่ยนร้ายกลายเป็นดี พลังสุขภาพจิต (RQ: Resilience quotient). นนทบุรี: สำนักสุขภาพจิตสังคม.
กรมสุขภาพจิต. (2552ข). คู่มือการเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตสำหรับสถานศึกษา. นนทบุรี: บียอนด์พับลิสชิ่ง.
กรมสุขภาพจิต. (2558). คู่มือการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชนในชุมชน. นนทบุรี: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จรรยา เกษศรีสังข์. (2537). วิธีการเผชิญปัญหาของนักเรียนนายร้อยตำรวจ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกจิตวิทยาการแนะแนว, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จรรยา เศรษฐพงษ์, เกียรติกำจร กุศล, สายฝน เอกรางกูร และปิยธิดา จุลละปิย. (2553). พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของวัยรุ่นในจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 3(3), 52-63.
จริยกุล ตรีสุวรรณ. (2542). การศึกษาเอกลักษณ์แห่งตนเองของนักเรียนวัยรุ่นตอนปลาย โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกจิตวิทยาการแนะแนว, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชมนุช บุญสิทธิ์. (2541). ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับสัมพันธภาพกับเพื่อนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกจิตวิทยาการแนะแนว, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ฉวีวรรณ สัตยธรรม และวิไลพร ขำวงษ์. (2557). แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพจิต. ใน ฉวีวรรณ สัตยธรรม, แผ จันทร์สุข และศุกร์ใจ เจริญสุข (บก.), การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต ฉบับปรับปรุง เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 2, หน้า 67-89). กรุงเทพฯ: ธนาเพลส.
ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล. (2550). แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างความเข้มแข้งทางใจ สำหรับชั้นมัธยมศึกษา. นนทบุรี: สำนักพัฒนาสุขภาพจิต.
พนม เกตุมาน. (2550). พัฒนาการวัยรุ่น. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2558 จาก https://www.psyclin.co.th/new_page_56.htm
พนม เกตุมาน. (2558). พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น (Risk tanking behavior in adolescent). ใน นันทวัช สิทธิรักษ์, กมลเนตร วรรณเสวก, กมลพร วรรณฤทธิ์, ปเนต ผู้กฤตยาคามี, สุพร อภินันทเวช และพนม เกตุมาน (บก.), จิตเวชศิริราช DSM-5 (หน้า327-333). กรุงเทพฯ: ประยูรสาส์นไทยการพิมพ์.
พรพรรณ จันทรถง. (2541). การศึกษารูปแบบการอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่กับการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดกรมสามัญศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พรทิพย์ วชิรดิลก. (2557). ปัจจัยทำนายความสามารถในการยืนหยัดเผชิญวิกฤตของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 28(2), 17-31.
พัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558ก). ความแข็งแกร่งในชีวิต (Resilience). ใน พัชรินทร์ นินทจันทร์ (บก.), ความแข็งแกร่งในชีวิต: แนวคิด การประเมิน และการประยุกต์ใช้ (หน้า 3-32). กรุงเทพฯ: จุดทอง.
พัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558ข). ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยปกป้อง และความแข็งแกร่งในชีวิต (Risk factors, protective factors, and resilience). ใน พัชรินทร์ นินทจันทร์ (บก.), ความแข็งแกร่งในชีวิต: แนวคิด การประเมิน และการประยุกต์ใช้ (หน้า 33-52). กรุงเทพฯ: จุดทอง.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, ศรีสุดา วนาลีสิน, ลัดดา แสนสีหา, ขวัญพนมพร ธรรมไทย และพิศสมัย อรทัย. (2554ก). ความแข็งแกร่งในชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นไทย. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 17(3), 430-443.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, ทัศนา ทวีคูณ, จริยา วิทยะศุภร และพิศสมัย อรทัย. (2554ข). ความแข็งแกร่งในชีวิตและความเครียดของนักศึกษาพยาบาลโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 25(1), 1-13.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน และทัศนา ทวีคูณ. (2553). การพัฒนาแบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิต. รายงานการวิจัยโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน และทัศนา ทวีคูณ. (2555). โปรมแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต. กรุงเทพฯ: จุดทอง.
เพ็ญพิไล ฤทธคณานนท์. (2550). พัฒนาการมนุษย์ (Human development). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพลส.
มะลิวรรณ วงษ์ขันธ์, พัชรินทร์ นินทจันทร์, และโสภิณ แสงอ่อน. (2557). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.
ยุวดี พงษ์สาระนันทกุล. (2555). การเจริญเติบโตและพัฒนาการ. ใน ศรีสมบูรณ์ มุสิกสุคนธ์, ฟองคำ ติลกสกุลชัย,วิไล เลิศธรรมเทวี, อัจฉรา เปรื่องเวทย์, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม และสุดารัตน์ พยัคฆเรือง (บก.), ตำราการพยาบาลเด็ก เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: พรี-วัน.
ยุพา พูนขำ, ประกายดาว พรหมประพัฒน์, กอบกุล ไพศาลอัชพงษ์ และรณภูมิ สามัคคีคารมย์. (2553). การศึกษาแนวทางการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันพฤติกรรมเสี่ยง และปัญหาสุขภาพเยาวชน. นนทบุรี: สำนักอนามัยการเจริญพันธ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย. (2553). การบริการพยาบาลอนามัยครอบครัว. ใน วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย และจริยาวัตร คมพยัคฆ์ (บก.), การพยาบาลอนามัยชุมชน: แนวคิด หลักการ และการปฏิบัติการพยาบาล (หน้า321-370). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.
วัชรินทร์ กระแสสัตย์, วรรณี เดียวอิศเรศ และจินตนา วัชรสินธุ์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างประเพณีครอบครัว ความผูกพันในครอบครัว กับความเข้มแข็งทางใจของวัยรุ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารสาธารณสุขมหาวิยาลัยบูรพา, 6(2), 59-68.
วิไล วิชากร, ศิริพร วัชรากร และรุ่งอรุณ นุทธนู. (2550). รูปแบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงของกลุ่มวัยรุ่นในพื้นที่สาธารณสุขเขต 5. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี, กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2558 จาก www.kmddc.go.th/research/4151.
วิไลลักษณ์ พงษ์โสภา. (2555). สุขภาพจิต (Mental hygiene). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมภพ เรืองตระกูล. (2550). การฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
สมภพ เรืองตระกูล. (2553). ตำราจิตเวชศาสตร์พื้นฐานและโรคทางจิตเวช. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต. (2559). โปรแกรมเสริมสร้างทักษะชีวิต สำหรับวัยรุ่น. กรุงเทพฯ: บียอนด์พับลิสชิ่ง.
สาวิตรี อัษณางค์กรชัย, อโนชา หมึกทอง และถนอมศรี อินทนนท์. (2551). การเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย. ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, สำนักวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2558 จาก https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/2784?locale-attribute=th
สุวนีย์ เกี่ยวกิ่งแก้ว. (2554). การพยาบาลจิตเวช Psychiatric nursing. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุวิณี ภารา. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความแข็งแกร่งในชีวิตของวัยรุ่นในกรุงเทพ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาพัฒนาการ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุภาพร วีรดาวิญญู. (2538). การศึกษาเปรียบเทียบอัตมโนทัศน์ การอบรมเลี้ยงดู และสภาพแวดล้อมของโรงเรียนระหว่างนักเรียนที่มีพฤติกรรมผิดวินัย และนักเรียนที่มีพฤติกรรมอยู่ในวินัย ในระดับชั้นมัธยม ศึกษาตอนต้น อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศรีเพ็ญ ตันติเวสส, ทรงยศ พิลาสันต์, อินทิรา ยมาภัย, ยศ ตีระวัฒนานนท์, ชลัญธร โยธาสมุทร, อภิญญา มัตเดช และณัฐจรัส เองมหัสสกุล. (2556). สถานการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย 2556. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. เข้าถึงเมื่อ 13 มีนาคม 2558 จาก www.hitap.net.
อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. (2553). การให้คำปรึกษาทางสุขภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรพินทร์ ชูชม, สุภาพร ธนะชานันท์ และทัศนา ทองภักดี. (2554). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของภูมิคุ้มกันทางจิตของเยาวชน. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อิสริยา ปาริชาติกานนท์ และบุรณี กาญจนถวัลย์. (2558). ความสามารถในการฟื้นพลังและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสุขภาพจิต, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Ahmadimehr, Z., & Yousefi, Z. (2014). Predicting adolescence depression: Resiliency and family factors. Scientific Online Publishing Transactions on Psychology, 1(2), 1-11. Retrieved March 6, 2016, from www.scipublish.com/journals/STP/papers/.../1102-241.pdf.
Altundag, Y., & Bulut, S. (2014). Prediction of resilience of adolescents whose parents are divorced. Psychology, 5, 1215-1223. Retrieved March 6, 2016, from https://dx.doi.org/10.4236/psych.2014.510134
American Academy of Pediatrics. (2015). Stages of adolescence. Retrieved January 26, 2016, from https://www.healthychildren.org/English/ages-stages/teen/Pages/Stages-of-Adolescence.aspx.
American Psychological Association. (2002). Developing adolescent (a reference for professions). Retrieved January 26, 2016, from https://www.apa.org/pi/families/ resources/develop.pdf
Atighi, E., Atighi, A., & Atighi, I. (2015). Predicting psychological resilience based on parenting styles in girl adolescence. International Research Journal of Applied and Basic Sciences, 9(8), 1340-1344. Retrieved January 26, 2016, from www.irjabs.com.
Collishaw, S., Pickles, A., Messer, J., Rutter, M., Shearer, C., & Maughan, B. (2007). Resilience to adult psychopathology following childhood maltreatment: Evidence from a community sample. Child Abuse and Neglect, 31(3), 211-229. doi. org/10.1016/j.chiabu.2007.02.004
Eccles, J. S. (1999). The development of children ages 6 to 14. The Future of Children, 2(9), 30-44. Retrieved August 26, 2015, from https://www.prineton.edu/futureofchildren/ publications/journals/article/index.xml?ornalid=48&articleid=232§ionid=1519
Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A. G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research Methods, 39, 175-191.
Fayombo, G. (2010). The relationship between personality traits and psychological resilience among the Caribbean adolescents. International Journal of Psychological Studies, 2(2), 105-116.
doi: 10.5539/ijps.v2n2p105 Source: DOAJ
Grotberg, E. H. (1995). A guide to promoting resilience in children: Strengthening the human spirit. The Hague: The Bernard Van Leer Foundation.
Grotberg, E. H. (2006). Implications of the shift from diagnosis and treatment to recovery and resilience for research and practice. Washington, D.C: Georgetown University.
Hamdan-Mansour, A. M., Azzeghaiby, S. N., Alzoghaibi, I. N., Al Badawi, T. H., Nassar, O. S., & Shaheen, A. M. (2014). Correlates of resilience among university students. American Journal of Nursing Research, 2(4), 74-79. doi: 10.12691/ajnr-2-4-4
Im, Y. J., & Kim, D. H. (2011). Factors associated with the resilience of school-aged children with atopic dermatitis. The Journal of Clinical Nursing, 21, 80-88. doi: 10.1111/j.1365-2702.2011.03750.x.
Izadinia, N., Amiri, M., Jahromi, R.G., & Hamidi, S. (2010). A study of relationship between suicidal ideas, depression, anxiety, resiliency, daily stresses and mental health among tehran university students. Procedia Social and Behavioral Science, 5, 1515-1519. doi:10.1016/j.sbspro.2010.07.335
Karatas, Z., & Cakar, F. S. (2011). Self-esteem and hopelessness, and resiliency: An exploratory study of adolescents in turkey. International Education Studies, 4(4), 84-91. doi:10.5539/ies.v4n4p84
Kim, D. H., & Yoo, I. Y. (2010). Factors associated with resilience of school age children with cancer. Journal of Paediatrics and Child Health, 46, 431-436. doi: 10.1111/j.1440-1754.2010.01749.x.
Luthar, S. S., Crossman, E. J., & Small, P. J. (2015). Resilience and adversity. In Lerner, R. M., and Lamb M. E., (Eds.), Handbook of Child Psychology and Developmental Science (7th ed, pp.247-286). New York: Wiley. Retrieved August 19, 2017, from https://publication.suniyaluthar.org
Ngai, S. S., & Cheung, C. K. (2009). The effects of parental care and parental control on the internal assets of adolescent children in Hong Kong. International Journal of Adolescence and Youth, 15(3), 235-255. doi: 10.1080/02673843.2009.9748031
Passer, M. W., & Smith, R. E. (2011). Psychology: The science of mind and behavior. (5th ed.). New York, McGraw-Hill.
Petrowski, K., Brahler, E. & Zenger, M. (2014). The relationship of parental rearing behavior and resilience as well as psychological symptoms in a representative sample. Health and Quality of Life Outcomes, 12(95), 1-9. doi:10.1186/1477-7525-12-95
Rutter, M. (1985). Resilience in the face of adversity. Protective factors and resistance
to psychiatric disorder. British Journal of Psychiatry, 147, 598–611.
Salami, S. O. (2010). Moderating effects of resilience, self-esteem and social support on adolescents’
reactions to violence. Canadian Center of Science and Education, 6(12), 101-110. Retrieved January 26, 2016, from www.ccsenet.org/ass.
Shi, M., Wang, X., Bian, Y., & Wang, L. (2015). The mediating role of resilience in the relationship between stress and life satisfaction among Chinese medical students: a cross-sectional study. BMC Medical Education, 15(1), 16. doi:10.1186/s12909-015-0297-2
Syukrowardi, D. A., Wichaikull, S., & Bormann, S. V. (2015). Predictors of resilience in children after expose to flooding in Indonesia. Journal of Health Research, 29(1), 15-22. doi: 10.14456/ jhr.2015.44
Wan Shahrazad, W. S., Fauziah, I., Asmah Bee, M. N. & Ismail, B. (2012). A cooperative study of self-esteem, leadership and resilience amongst illegal motorbike racers and normal adolescents in Malaysia. Asian Social Science, 8(8), 61-68. Retrieved March 6, 2016, from https://www.ccsenet.org/journal/index.php/ass/article/view/18505
Werner, E. E. (1992). The children of Kauai: resiliency and recovery in adolescence and adulthood.
Journal of Adolescent Health, 13, 262–68.
Wilks, S. E. (2008). Resilience amid academic stress: The moderating impact of social support among social work students. Advances in Social Work, 9(2), 106-125. Retrieved March 6, 2016, from https://advancesinsocialwork.iupui.edu/index.php/.../195
Wu, L. M., Sheen, J. M., Shu, H. L., Chang S. C., & Hsiao, C. C. (2012). Predictors of anxiety and resilience in adolescents undergoing cancer treatment. Journal of Advanced Nursing, 69(1), 158-66. doi: 10.1111/j.1365-2648.2012.06003.
Zakeri, H., Jowkara, B., Razmjoee, M. (2010). Parenting styles and resilience. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 5, 1067-1070. doi:10.1016/j.sbspro.2010.07.236
Zhai, Y., Liu, K., Zhang, L., Gao, H., Chen, Z., Du, S., Zhang, L. & Guo, Y. (2015). The Relationship between post-traumatic symptoms, parenting style, and resilience among adolescents in Liaoning, China: A cross-sectional study. Public Library of Science One, 10(10), 1-14. doi:10.1371/journal.pone.0141102