บทบาทพยาบาลจิตเวชในการส่งเสริมการทำหน้าที่ของครอบครัวของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน

Main Article Content

ฐิตินันท์ อ้วนล่ำ

บทคัดย่อ

บทบาทพยาบาลจิตเวชในการส่งเสริมการ ทำหน้าที่ของครอบครัวผู้ป่วยจิตเภทมีความสำคัญ การทำหน้าที่ของครอบครัวมีผลต่อสุขภาพจิต ของสมาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครัว ทั้งนี้เนื่องจาก การทำหน้าที่ของครอบครัวเป็นการกระทำเพื่อ ตอบสนองความต้องการของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมของสมาชิกในครอบครัว การทำหน้าที่ ของครอบครัวที่ดีต้องอาศัยการมีสัมพันธภาพที่ ดีต่อกัน มีความรัก ความผูกพัน ความเอื้ออาทร และการสื่อสารที่ชัดเจนเปิดเผยในครอบครัว สมาชิกในครอบครัวสามารถแสดงบทบาทและ หน้าที่ของตัวเองได้อย่างเหมาะสม และสามารถจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัวได้ ดังนั้น การทำหน้าที่ของครอบครัวที่ดีจะช่วยให้สมาชิก ในครอบครัวสามารถตอบสนองความต้องการ พื้นฐานของตนเองและสามารถดำรงชีวิตอยู่ ในสังคมได้อย่างปกติสุข ในทางกลับกันการ ทำหน้าที่ของครอบครัวที่ไม่เหมาะสมมีผลต่อ ความเปราะบางทางจิตใจของสมาชิกในครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าในครอบครัวมีผู้ป่วยจิตเภท อาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการกำเริบในอัตราสูง บทความ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอบทบาทของพยาบาล ในการส่งเสริมการทำหน้าที่ของครอบครัวของ ผู้ป่วยจิตเภทที่อยู่ในชุมชน อันจะเกิดผลลัพธ์ที่ดี ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยจิตเภทต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมสุขภาพจิต, กระทรวงสาธารณสุข. (2550). ชุดความรู้และแนวทางปฏิบัติเรื่อง การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยจิตเภท. นนทบุรี: ดิจิตอลเวิลด์ ก๊อปปี้.

กรมสุขภาพจิต. (2557). รายงานการประชุ มกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2557. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข.

กาญจนา นันทไพบูลย์. (2553). การศึกษาการใช้ โปรแกรมการให้คำปรึกษาครอบครัวต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 24(2), 26-38.

จิราพร รักการ. (2549). ผลของการใช้โปรแกรม สุขภาพจิตศึกษาครอบครัวต่อภาระใน การดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพ จิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชัฎชฎา คมขำและรัชนีกร เกิดโชค (2556). ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาที่เน้น การฝึกทักษะต่อการทำหน้าที่ทางสังคมของ ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. วารสารการพยาบาล จิตเวชและสุขภาพจิต, 27(3), 101-112.

ดาราณี วันวา. (2555). ผลของกลุ่มสนับสนุน ครอบครัวต่อการทำหน้าที่ของครอบครัว ตามการรับรู้ของผู้ดูแลในครอบครัวของ ผู้ป่วยจิตเภท. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นุชนาถ ชัยเจริญ. (2552). การสังเคราะห์งาน วิจัยเกี่ยวกับการช่วยเหลือครอบครัวของ ผู้ป่วยจิตเภท.วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต และการพยาบาลจิตเวช, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.

ปัทมา ศิริเวช. (2552). การฟื้นฟูสมรรถภาพทาง จิตสังคม. ในพิเชษฐ อุดมรัตน์ และสรยุทธ วาสิกานนท์ (บรรณาธิการ). ตำราโรคจิตเภท (หน้า 305-316). สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.

เพ็ญประภา มะละไวย์. (2550). การพัฒนาโครงการ กระบวนการดูแลผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพ จิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์. (2558). จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. (พิมพ์ ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.

รัชนีกร อุปเสน. (2541). การศึกษาบทบาทและ ภาระของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทที่บ้าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพ จิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ลักษ์ขณา พานิชสรรค์. (2557). ผลของโปรแกรม การบำบัดครอบครัวต่อการทำหน้าที่ ของครอบครัวผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหา บัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและ จิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

วิจิตร ศรีสุพรรณ และกาญจนา จันทร์ไทย. (2556). คู่มือปฏิบัติงานพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล. กรุงเทพฯ: จุดทอง.

ศุทธินี หล้ามาชน. (2560). กระบวนการดูแล ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนพื้นที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขอนแป้น ตำบลคอแลน อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญา สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์, คณะสาธารณสุข ศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สายใจ พัวพันธ์. (2553). การรับรู้การเป็นภาระ ของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในจังหวัดชลบุรี. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 24(1), 156-171.

สุวนีย์ กิ่งแก้ว. (2554). การพยาบาลจิตเวช. (พิมพ์ ครั้งที่ 2). ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. (2554). การพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: วี พริ๊นท์ จำกัด.

อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2554). จิตบำบัดและการ ให้คำปรึกษาครอบครัว. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ซันต้าการพิมพ์.

Addington, J., McCleery, & Addington, D., (2005). Three years outcome of family work in early Psychosis program. Schizophrenia Research, 79(1), 107-116.

Anderson, C. M., Hogarty, G. E., & Reiss, D. J., (1980). Family treatment of adult schizophrenia patient: Psychoeducation approach. Schizophrenia Bulletin, 6(3), 490-505.

Chien, W. T., & Chan, S. W. (2004). One year Follow-up of a multiple family group intervention for Chinese families of patients with schizophrenia, Psychiatric Service, 55(11), 1276-1284.

Chein, W. T., Chan, S. W. C., & Morrissey, J. (2007). The perceived burden among Chinese family caregivers of people with schizophrenia. Journal of Clinical Nursing, 16(6), 1151-1161.

Cunningharm, P. A. (2007). The role of psychiatric nurse in home care. Home Healthcare Nurse, 25(10), 645-652.

Dyck, D. G., Hendryx, M. S., Short, R. A., Voss, W. D., & Mcfarlane, W. R. (2002). Service use among patients with schizophrenia in psychoeducational Multiple-Family group treatment. Psychiatric Service, 53(6), 749-754.

Dyck, D. G., Short, R. A., Hendryx, M. S., Norell, D., Myears, M., Patterson, T., et al. (2000). Management of negative symptom among patients schizophrenia attending multiple family group. Psychiatric Service, 51(4), 513-519.

Epstein, N. B., Bishop, D. S., & Buldwin, L. M. (1984). The McMaster Model of Function¬ing. Retrieved April 9, 2016, from http:// www.epstein.html.com.

Fallon, I. R. H. et al. (1985). Family management of schizophrenia: A study of clinical, social, family and economic benefits. Baltimore: John Hopkins University Press.

Farragher, B. (1999). Treatment compliance in the mental health service. Irish Medication Journal, 92(6), 1-3.

Gispen-de Wied, C. C. (2000). Stress in schizo¬phrenia: an integrative view. Europe¬an Journal of Pharmacology, 405(1-3), 375-384.

Gray, R., Wykes, T., & Gournay, K. (2002). From compliance to condense: A review of the literature on interventions to enhance compliance with antipsychomedication. Journal of Psychiatric and Mental Health Nursing, 9, 277-284.

Hanzawa, S., Bae, J. K., Tanaka, H., Bae, Y. J., Tanaka, G., Inadomi, H. et al. (2010). Caregiver burden and coping strategies for patients with schizophrenia: Comparison between Japan and Korea. Psychiatry and Clinical Neurosciences, 64(4), 377-386.

Hegde, S., Rao, S. L., & Raguram, A. (2007). Integrated psychological intervention for schizophrenia. International Journal of Psychosocial Rehabilitation, 11(2), 5-18.

Honkonen, T., Saarinen, S., & Salokangas, R. (1999). Deinstitutionalization and Schizo¬phrenia in finland II: Discharged patients and their psychosocial Functioning. Schizo¬phrenia Bulletin, 25(3), 543-551.

Hoolley, J. M. (2007). Expressed emotion and relapse of Psychopathology. Retrieved September 5, 2017, from http://www.ncbi. nih.gov/pubmed/17716059.

Kaplan, H. I., & Sadock, B. J. (1998). Synopsis of psychiatry. Baltibore: Williams & Wilkins.

Kurtz, M. M., Wexler, B. E., Fujimoto, M., Shagan, D. S., & Seitzer, J. C., (2008). Symptoms versus Neurocognition as predictors of change in life skills in schizo¬phrenia after outpatient rehabilitation. Schizophrenia Research, 102, 303-311.

Liberman, R. (2006). Dissemination and adoption of social skill training: Social validation of an evidence-base treatment for the mentally disable. Los Angeles, CA: Geffen UCLA School of Medicine.

Lindenmayer, J. P., & Khan, A. (2006). Psycho¬pathology. In: Liberman, JA. Stroup, TS. Perkin, DO. eds. Textbook of Schizophre¬nia. Washington DC: American Psychiatric Publishing.

MacFarlane, W. R., Lukens, E., Link, B., Dushay, R., Deakins, S.A., Newmark, M., et al. (1995). Multiple family group and psycho¬education in the treatment of schizophrenia. Archives General Psychiatry, 52, 679-687.

Marom, S., Munitz, H., Jones, P. B., Weizman, A., & Hermesh, H. (2005). Expressed emotion: relevance to rehospitalization in schizophrenia over 7 years. Schizophrenia Bulletin, 31(3), 751-758.

McDonagh, L. A. (2005). Express Emotion as a precipitate of relapse in psychological disorder. Retrieved March 12, 2014, from http://www.Personalityresearch. Org/pa¬pers/ McDonagh html.

Millier, A., Sarlon, E., Azorin, J. M., Boyer, l., Aballea, S., Auquier, P., et al. (2011). Re¬lapse according to antipsychotic treatment in schizophrenic patients: A propensity-adjusted analysis. BMC Psychiatry, 11, 1-9.

Murphy, N. (2007). Development of family interventions: a 9-month pilot study. British Journal of Nursing, 16(15), 948-952.

Sadock, J. B. & Sadock, A. V. (2007). Comprehen¬sive textbook of psychiatry. (8th ed.). Phila¬delphia: Lippincott Williams & Wilkins.

Sadock, J. B., & Sadock, A.V. (2016). Synopsis of psychiatry. (11thed.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.

Sethabouppha, H., & Kane, C., (2005). Caring for the seriously mentally ill in Thailand; Bud¬dhist family caregiver. Archives Psychiatric Nursing, 19(2), 44-45.

Sun, Y. K. S., & Cheung, K. S. (1997). Family functioning, social support to families, and Symptom remittance of schizophrenia. Hong Kong Journal of Psychiatry, 7(2), 19-25.

Sung-Man, B. et al. (2010). Predictive factors of social functioning in patient with schizo¬phrenia. Psychiatry Investing, 7, 93-101.

Swanson, J. W., Swartz, M. S., Dorn, R. A. V., Elbogen, E. B., McEvoy, J. P., & Lieberman, J. A. A. (2006). National study of violent behavior in persons with schizophrenia. Archives of General Psychiatry, 63, 490-499.

World Health Organization (WHO). (2013). WHO’s Mental Health Action Plan 2013-2020. Retrieved September 1, 2017, from http://apps.who.int/iris/bitstream/ 10665/89966 /1/9789241506021 _eng.pdf.

World Health Organization (WHO). (2016). The ICD-10 classification of mental and behavior disorders. Geneva: n.p.

Wu, E. Q., Brirnbaum, H. G., Shi, L., Ball, D. E., Kessler, R. C., & Moulis, M. (2005). The economic burden of schizophrenia in the United States in 2002. Journal of Clinical Psychiatry, 66, 1122-1129.