ความสัมพันธ์ระหว่างการทำหน้าที่ของครอบครัว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสังคม และการรับรู้ความเครียด กับความแข็งแกร่งในชีวิตของวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสไทยในจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือ

Main Article Content

วิลาวัณย์ สายสุวรรณ
พัชรินทร์ นินทจันทร์
โสภิณ แสงอ่อน
นันทิยา เอกอธิคมกิจ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: การวิจัยแบบบรรยายความ สัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการทำหน้าที่ของครอบครัว ความ รู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสังคมและการรับรู้ ความเครียด กับความแข็งแกร่งในชีวิตของวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสไทย ในจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือ


วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่ กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ของโรงเรียนศึกษา สงเคราะห์แห่งหนึ่งในจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือ จำนวน 398 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม การทำหน้าที่ของครอบครัว แบบสอบถามความรู้สึก เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสังคม แบบสอบถาม การรับรู้ความเครียด และแบบสอบถามความ แข็งแกร่งในชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบสเปียร์แมน


ผลการศึกษา: การทำหน้าที่ของครอบครัว และความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสังคม


มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความแข็งแกร่งในชีวิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .353, p < .01 และ r = .118, p < .05 ตามลำดับ) การรับรู้ความเครียด มีความสัมพันธ์ทางลบกับความแข็งแกร่งในชีวิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.139, p < .01)


สรุป: ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำไปใช้ เป็นข้อมูลพื้นฐานในการเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ในชีวิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองทุนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร. (2551). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่น ทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2550 - 2559. เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2561, จาก http://kanchanapisek.or.th/ kp14/plans/remote_area_child_1_3/plan4/ child_dev_plan5059.pdf

เดชา ศิริเจริญ. (2558). เด็กกับอิทธิพลของ ครอบครัว. วารสารนิติศาสตร์, 3(6), 12-17.

ดำรงค์ ตุ้มทอง, พัชรินทร์ สิรสุนทร, รัตนะ บัว สนธ์ และทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์. (2557). ปัญหาเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา: สถานการณ์ความไม่เสมอภาคในสังคม ไทย. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์, 10(1), 123-141.

ธัญธิณี งามวัฒนากุล. (2550). วิเคราะห์เด็กกำพร้า หรือเด็กเร่รอนที่ถูกทอดทิ้ง. เข้าถึงเมื่อ 15 ตุลาคม 2560, จาก www.law.cmu.ac.th/ law2011/177404/files/1325751292.doc

พนม เกตุมาน. (2550). พัฒนาการวัยรุ่น (Adoles¬cent development). เข้าถึงเมื่อ 20 มีนาคม 2560,จาก http://www.psyclin.co.th/new_ page_56.htm

พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2553). ทฤษฎีจิตวิทยา พัฒนาการ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, ทัศนา ทวีคูณ, จริยา วิทยะศุภร และพิศสมัย อรทัย. (2554). ความแข็งแกร่งในชีวิตและความเครียด ของนักศึกษาพยาบาลโรงเรียนพยาบาล รามาธิบดี. วารสารการพยาบาลจิตเวชและ สุขภาพจิต, 25(1), 1-17.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, วารีรัตน์ ถาน้อย, โสภิณ แสงอ่อน, มาณวิภา พัฒนมาศ และช่อทิพย์ อินทรักษ์. (2560). ปัจจัยทำนายความ แข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นด้อยโอกาส. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 31(1), 13-28.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน และจริยา วิทยะศุภร. (2556). ความแข็งแกร่งในชีวิต เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และสุขภาพ จิตของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารการ พยาบาลและสุขภาพ, 7(2), 12-26.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, ทัศนา ทวีคูณ และโสภิณ แสงอ่อน. (2558). ความแข็งแกร่งใน ชีวิต: แนวคิดการประเมินการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: จุดทอง.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, ศรีสุดา วนาลีลิน, ลัดดา แสนสีหา, ขวัญพนมพร ธรรมไทย และ พิศสมัย อรทัย. (2554). ความแข็งแกร่ง ในชีวิตและพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นไทย.รามาธิบดีพยาบาลสาร, 17(3), 430-443.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน และ ทัศนา ทวีคูณ. (2555). โปรแกรมการเสริม สร้างความแข็งแกร่งในชีวิต: A resilience-enhancing program. กรุงเทพฯ: จุดทอง.

ฟูรียา เบ็ญฮาวัน, วินีกาญจน์ คงสุวรรณ, และ ถนอมศรี อินทนนท์. (2559). ผลของ โปรแกรมการให้การปรึกษารายกลุ่มแบบ ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลางร่วมกับการใช้ ศิลปะต่อความเครียดของเด็กกำพร้าจาก สถานการณ์ความไม่สงบในภาคใต้. วารสาร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 7(1), 15-24.

มะลิวรรณ วงษ์ขันธ์, พัชรินทร์ นินทจันทร์ และ โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ปัจจัยที่มีความ สัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่น. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 29(1), 57-75.

มุสลินท์ โต๊ะกานิ. (2555). การทำหน้าที่ของ ครอบครัวและพฤติกรรมเกเรที่มีผลต่อ การติดเกมคอมพิวเตอร์ของเยาวชนในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารพฤติกรรม ศาสตร์, 18(2), 75-89.

ยุพา พูนขำ, ประกายดาว พรหมประพัฒน์, กอบ กุล ไพศาลอัชพงษ์ และรณภูมิ สามัคคีคา รมย์. (2553). การส่งเสริมสุขภาพป้องกัน พฤติกรรมเสี่ยงและปัญหาสุขภาพเยาวชน . นนทบุรี: สำนักอนามัยการเจริญพันธ์ กรมอนามัย.

วิไลลักษณ์ พงษ์โสภา. (2555). สุขวิทยาจิต. กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์.

วราภรณ์ มั่นคง. (2558). ปัจจัยครอบครัวที่มีผลต่อ การใช้ยาเสพติดของวัยรุ่นในศูนย์ฝึกและ อบรมเด็กและเยาวชนบ้านบึง อำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลเวช ปฏิบัติครอบครัว, มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมหมาย แตงสกุล. (2551). สุขศึกษาและพละ ศึกษา ม.3. กรุงเทพฯ: วัฒนพานิช จำกัด.

สุภาพร อาจเดช. (2555). การศึกษาสงเคราะห์คณะ กรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24. เข้าถึงเมื่อ 20 มีนาคม 2561, จาก https://www.parliament.go.th/ewtcom¬mittee/ewt/education/download/article/ article_20130318142801.pdf

แสงทอง ธีระทองคำและทัศนา ทวีคูณ. (2554). ผลของการอบรมพัฒนาจิตต่อความเครียด และสมรรถนะแห่งการมีสติของนักศึกษา พยาบาลรามาธิบดี. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 16(3), 364-377.

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. (2560). มาตรฐานด้านโภชนาการสำหรับนักเรียน ประจำโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์. เข้าถึงเมื่อ 10 มกราคม 2561, จาก http://special.obec. go.th/view_news.php?id=780

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). สถานการณ์นักเรียนด้อยโอกาส. เข้า ถึงเมื่อ 4 มกราคม 2561, จาก http:// www. boppo-obec.info/

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556ก). สถิติการศึกษาปี 2556 จำนวน นักเรียนด้อยโอกาส จำแนกตามประเภท ความด้อยโอกาส และรายชั้น ปีการศึกษา 2556. เข้าถึงเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2560, จาก http://www.bopp-obec.info/home

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556ข). เอกสารประกอบการอบรมและ พัฒนาบุคลากรด้านระบบสารสนเทศ ทางการศึกษา ปีการศึกษา 2556. เข้าถึงเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2560, จากhttp://www.obec. go.th/

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). รายงานการ วิจัยเรื่องการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ศึกษาสำหรับเด็กด้อยโอกาส. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น ฐานกระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์. (2557). เด็กด้อย โอกาสยากจนมากที่สุด. เข้าถึงเมื่อ 5 มีนาคม 2562, จาก https://www.m-society.go.th/ search_result.php

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2548). นโยบายการจัดการศึกษาสำหรับเด็กด้อย โอกาส. เข้าถึงเมื่อ 10 มกราคม 2559, จาก http://www.onec.go.th

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). สถิติ การศึกษาของประเทศไทย ปีการศึกษา 2557-2558. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวาน กราฟฟิค.

อมรวิชช์ นาครทรรพ. (2557). เด็กด้อยโอกาสจุด พลิกผันอนาคตของชาติ. กรุงเทพฯ: มาตา การพิมพ์.

อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2554). จิตบำบัดและการ ให้การปรึกษาครอบครัว (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: ซันต้าการพิมพ์.

American Psychological Association (APA). (2002). Developing adolescents: A reference for professionals. Retrieved October 26, 2016, from https://www.apa.org

Bozak, S. (2013). College students' sense of belonging and social support: Potential factors in resilience (Doctor of Psychology). Retrieved August 4, 2017, from https:// search.proquest.com

Cleverley, K., & Kidd, S. A. (2011). Resilience and suicidality among homeless youth. Journal of Adolescent Health, 34(5), 1049 -1054.

Cohen, S. (1994). Perceived stress scale. Retrieved July 3, 2018, from http://www.mindgarden.com/documents/PerceivedStressScale.pdf

Cohen, S., Kamarck, T., & Mermelstein, R. (1983). A global measure of perceived stress. Journal of Health and Social Behavior, 24, 385–396.

Cohen, S., & Williamson, G. (1988). Perceived stress in a probability sample of the United States. The Social Psychology of Health, 3(1), 31-63.

Demb, M. (2005). Resilience in a time of terror: Individual, social, and familial protective factors in Israeli adolescents. Doctor of Philosophy, Adelphi University, United States of America.

Dias, P. C., & Cadime, I. (2017). Protective factors and resilience in adolescents:The mediating role of self-regulation. Psicología Educativa, 23(1), 37-43.

DuMont, K. A., Widom, C. S., & Czaja, S. J. (2007). Predictors of resilience in abused and neglected children grown – up : The role of individual and neighborhood char¬acteristics. Child Abuse & Neglect, 31(3), 255-274.

Dumont, M., & Provost, M. A. (1999). Resilience in adolescents: Protective role of social support, coping strategies, self-esteem, and social activities on experience of stress and depression. Journal of Youth and Adoles¬cence, 28(3), 343-363.

Epstein, N. B., Baldwin, L. M., & Bishop, D. S. (1983). The mcmaster family assessment device. Journal of Marital and Family Therapy, 9(2), 171-180.

Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A. G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statisti¬cal power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research Methods, 39, 175-191.

Garmezy, N., Masten, A. S., & Tellegen, A. (1984). The study of stress and competence in children: A building block for develop¬mental psychopathology. Child Develop¬ment, 55, 97-111. doi:10.2307/1129837

Gomez, M., Vincent, A., & Toussaint, L. L. (2013). Correlates of resilience in adoles¬cents and adults. International Journal of Clinical Psychiatry and Mental Health, 1(1), 18-24.

Goodenow, C. (1993). The psychological sense of school membership among adolescents: Scale development and educational correlates. Psychology in the Schools, 30(1), 79-90.

Goodman, E., McEwen, B. S., Dolan, L. M., Schafer-Kalkhoff, T., & Adler, N. E. (2005). Social disadvantage and adolescent stress. Journal of Adolescent Health, 37(6), 484-492.

Grotberg, E. H. (1995). A guide to promoting resilience in children: Strengthening the human spirit. The Hague: The Bernard van leer foundation. Retrieved June 1, 2017,from https://eric.ed.gov/?id=ED386271

Grotberg, E. H. (1997). The international resilience research project. Retrieved June 6, 2017, from http://resilnet.uiuc.edu/ library/grotb97a.html

Grotberg, E. H. (2003). Resilience for today. London: Praeger.

Hackman, D. A., Betancourt, L. M., Brodsky, N. L., Hurt, H., & Farah, M. J. (2012). Neighborhood disadvantage and adolescent stress reactivity. Frontiers in Human Neuroscience, 6(1), 1-11.

Hagerty, B. M., Williams, R. A., & Oe, H. (2002). Childhood antecedents of adult sense of belonging. Journal of Clinical Psychology, 58(7), 793-801.

Jadon, P. S., & Tripathi, S. (2017). Effect of authoritarian parenting style on self esteem of the child: A systematic review. Ijariie International Journal, 3(3), 909-913.

Lee, H., & Williams, R. A. (2013). Effects of parental alcoholism, sense of belonging and resilience on depressive symptoms: A path model. Substance Use & Misuse, 48(3), 265-273.

Leung, J. T., Shek, D. T., & Li, L. (2016). Mother–child discrepancy in perceived family functioning and adolescent developmental outcomes in families experiencing economic disadvantage in Hong Kong. Journal of Youth and Adolescence, 45(10), 2036-2048.

Markstrom, C. A., Marshall, S. K., & Tryon, R. J. (2000). Resiliency, social support, and coping in rural low-income Appalachian adolescents from two racial groups. Journal Adolescent, 23(6), 693-703.

Martinez, I., & Garcia, J. F. (2007). Impact of parenting styles on adolescents' self-esteem and internalization of values in Spain. The Spanish Journal of Psychology, 10(2), 338-348.

McLeod, S. (2007). Maslow's hierarchy of needs. Retrieved September 5, 2017, from https: // www. simplypsychology.org/maslow.html

Mehrota, S., & Chaddha, U. (2013). A co relational study of protective factor, resilience and self esteem in pre medical dropouts. Internationa Journal of Humani¬ties and Social Science Invention, 2(9), 103-106.

Miller, I. W., Ryan, C. E., Keitner, G. I., Bishop, D. S., & Epstein, N. B. (2000). The McMaster approach to families: Theory, assessment, treatment and research. Journal of Family Therapy, 22(2), 168-189.

Nicely, Z. K. (2012). Appalachian girls’ college preparedness: An intervention programs comparison (Doctor of Psychology). Retrieved September 1, 2017, from http:// wagner.radford.edu

Nowicki, A. (2008). Self-efficacy, sense of belonging and social support as predictors of resilience in adolescents. Retrieved June 6, 2017, from http://ro.ecu.edu

Oswalt, A. (2010). Adolescent physical development. Retrieved May 12, 2017, from https://www.mentalhelp.net/articles/ adolescent-physical-development/

Petrie, S. M. (2010). The relationship between perceived stress and resilience among adolescents with cystic fibrosis. Retrieved May 1, 2017, from https://minds.wisconsin. edu

Peterson, R., & Green, S. (2009). Families First-Keys to Successful Family Function¬ing. Affective Responsiveness. Retrieved September 10, 2018, from http://pubs. ext.vt.edu/content/dam/pubs_ext_vt_ edu/350/350-094/350-094_pdf.pdf

Sangon, S. (2001). Predictors of depression in Thai women. Unpublished doctoral dis¬sertation, University of Michigan, United State of America.

Sangon, S. (2004). Predictors of depression in Thai women. Research and Theory for Nursing Practice, 18(2-3), 243-260.

Scarf, D., Moradi, S., McGaw, K., Hewitt, J., Hayhurst, J. G., Boyes, M., . . . Hunter, J. A. (2016). Somewhere I belong: Long-term increases in adolescents’ resilience are predicted by perceived belonging to the in-group. British Journal of Social Psychol¬ogy, 55(3), 588-599.

Shi, M., Wang, X., Bian, Y., & Wang, L. (2015). The mediating role of resilience in the relationship between stress and life satisfaction among Chinese medical students: a cross-sectional study. BMC Medical Education, 15(1), 1-7.

Shilpa, S., & Srimathi, N. L. (2015). Role of resilience on perceived stress among pre university and under graduate students. The International Journal of Indian Psychology, 2(2), 141-149.

Trangkasombat, U. (2006). Family functioning in the families of psychiatric patients: a comparison with nonclinical families. Journal of Medical Association of Thailand, 89(11), 1946.

The United Nations Children's Fund (UNICEF). (2012). The state of the world's children: Children in an urban world. Retrieved June 29, 2017, from https://www.unicef.org

Wild, L. G., Flisher, A. J., & Robertson, B. A. (2013). Risk and resilience in orphaned adolescents living in a community affected by AIDS. Youth & Society, 45(1), 140 -162.

World Health Organization (WHO). (2017). Adolescent health. Retrieved March 21, 2017, from http://www.who.int/topics/ adolescent_health/en/

Yee, N. Y., & Sulaiman, W. S. W. (2017). Resilience as mediator in the relationship between family functioning and depression among adolescents from single parent families. Akademika, 87(1), 111-122.