ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาทางสังคมต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล

Main Article Content

ดวงใจ วัฒนสินธุ์
สิริพิมพ์ ชูปาน
ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์
ศิริวัลห์ วัฒนสินธุ์
รัศมิ์สุนันท์ จันทรภักดี

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม การเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาทางสังคมต่อ ภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล


วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย แบบกึ่งทดลองนี้เป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1-4 ที่มีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง จำนวน 60 คนที่ได้จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่ายโดยสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมกลุ่ม ละ 30 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึก ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินภาวะซึมเศร้าซึ่ง มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ .83 และโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหา ทางสังคมซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิง เนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ดำเนินการ ทดลองระหว่างเดือนมกราคมถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน สองทางแบบวัดซ้ำและการเปรียบเทียบรายคู่ด้วย วิธีบอนเฟอโรนี


ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่ากลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยภาวะ ซึมเศร้าในระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือนแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (F1, 58 = 54.116, p = < .001) ในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยภาวะ ซึมเศร้าในระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที (mean = 13.30, SD = 4.63) และระยะติดตามผล หนึ่งเดือน (mean = 8.70, SD = 4.42) ต่ำกว่าระยะ ก่อนการทดลอง (mean = 19.03, SD = 2.04) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01


สรุป: โปรแกรมการเสริมสร้างทักษะการแก้ ปัญหาทางสังคมสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักศึกษาพยาบาล เพื่อช่วยลดภาวะซึมเศร้า

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กชกร แก้วพรหม และชนกฤทัย ชื่นอารมณ์. (2556). การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาพยาบาล. วารสาร สมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียง เหนือ, 31(4), 128-135.

จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส, สายใจ พัวพันธ์, และ ดวงใจ วัฒนสินธุ์. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัย บูรพา, 23(3), 1-13.

ดวงใจ วัฒนสินธุ์. (2559). การป้องกันภาวะซึม เศร้าในวัยรุ่น: จากหลักฐานเชิงประจักษ์สู่ การปฏิบัติ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 24 (1), 1-12.

ดวงใจ วัฒนสินธุ์, ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์, ศิริวัลห์ วัฒนสินธุ์, ธนวรรณ อาษารัฐ, สิริพิมพ์ ชูปาน, และพรพรรณ ศรีโสภา. (2558). ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาสาขา วิทยาศาสตร์สุขภาพ. วารสารคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 23(4), 46-62.

ดวงใจ วัฒนสินธุ์, โสภิณ แสงอ่อน, และยุวดี ฦาชา. (2549). ภาวะซึมเศร้าและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล ระดับปริญญาตรี. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 12(3), 289-303.

ธวัชชัย พละศักดิ์, รังสิมันต์ สุนทรไชยา, และรัชนี กร อุปเสน. (2560). ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้า ในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า. วารสารการพยาบาล จิตเวชและสุขภาพจิต, 31(1), 60-74.

นุชนาถ แก้วมาตร. (2556). นักศึกษาพยาบาลกับ ภาวะซึมเศร้า. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 21(3), 14-23.

นุชนาถ แก้วมาตร, จันทนา เกิดบางแขม, และ ชนัดดา แนบเกษร. (2554). ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของนิสิตพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 19(2), 84-95.

นฤมล สมรรคเสวี และโสภิณ แสงอ่อน. (2558). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าใน นักศึกษาพยาบาล. วารสารการพยาบาล จิตเวชและสุขภาพจิต, 29(3), 11-27.

พรชัย ดีไพศาลสกุล. (2556). ความคาดหวังและ การรับรู้ของผู้รับบริการต่อคุณภาพบริการ โรงพยาบาล. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 6(1), 573-592.

พันธ์ทิพย์ โกศัลวัฒน์, ดาราวรรณ ต๊ะปินตา, หทัย รัตน์ ปฏิพัทธ์ภักดี, และจินตนา ลี้จงเพิ่มพูน. (2561). การพัฒนาและผลของโปรแกรม การแก้ปัญหาเพื่อลดอาการซึมเศร้าในผู้ป่วย โรคซึมเศร้าที่มารับบริการในโรงพยาบาล พระศรีมหาโพธิ์. วารสารการพยาบาลจิตเวช และสุขภาพจิต, 32(1), 49-65.

มณฑา ลิ้มทองกุล และสุภาพ อารีเอื้อ. (2552). แหล่งความเครียด วิธีการเผชิญความเครียด และผลลัพธ์ การเผชิญความเครียดของ นักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติครั้ง แรก. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 15(2), 192- 205.

มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์. (2558). จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. (พิมพ์ ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมใจ วินิจกุล, สุวรรณา เหรียญสุวงษ์, และประทุม ทิพย์ สุขราษฎร์. (2557). ความสัมพันธ์ ระหว่าง สภาพแวดล้อมในสถาบันการ ศึกษา ความสุขในการเรียนรู้กับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาล คณะ พยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนว มินทราธิราช. วารสารเกื้อการุณย์, 21, 7-24.

สุกัญญา รักษ์ขจีกุล. (2556). ภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมการฆ่าตัวตายในนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารสมาคม จิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 58(4), 359-370.

สุณิสา ศรีโมอ่อน, อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง, และ อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. (2554). การบำบัด โดยการแก้ปัญหาในการลดอาการซึมเศร้า ในวัยผู้ใหญ่: การพยาบาลตามหลักฐานเชิง ประจักษ์. วารสารสภาการพยาบาล, 26(3), 107-116.

สุมาลี จูมทอง, ดุษฎี โยเหลา, งามตา วนินทานนท์, และสธญ ภู่คง. (2552). ประสบการณ์ ความเครียดและวิธีเผชิญความเครียดของ นักศึกษาพยาบาลจากการเรียนภาคปฏิบัติ ในห้องคลอด. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 15(1), 39-56.

อัศวินี นามะกันคำ, ชาลินี สุวรรณยศ, พจนีย์ ภาคภูมิ, และวราวรรณ ภูมิคำ. (2551). ความเครียดและปัจจัยที่ก่อให้เกิด ความเครียดของนักศึกษาพยาบาลในหอ ผู้ป่วย. พยาบาลสาร, 2, 26-36.

อุมาพร ตรังคสมบัติ, วชิระ ลาภบุญทรัพย์, และ ปิยลัมพร หะวานนท์. (2540). การใช้ The Center for Epidemiological Studies Depres¬sion Scale (CES-D) ในการคัดกรองภาวะ ซึมเศร้าในวัยรุ่น. วารสารสมาคมจิตแพทย์ แห่งประเทศไทย, 42(1), 2-13.

Anderson, R. J. Goddard, L. & Powell, J. H. (2011). Social problem solving and de¬pressive symptom vulnerability: The importance of real-life problem-solving performance. Cognitive Therapy and Re-search, 35, 48-56.

Beck, A. T., & Alford, B. A. (2009). Depression: Clinical, Experimental, And Theoretical Aspects. (2nded.). Pennsylvania: University of Pennsylvania Press.

Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavioral sciences. New York: Lawrence Erlbaum Associates.

D’Zurilla, T. J. & Nezu, A.M. (2007). Problem-solving therapy: A positive approach to clinical intervention. New York: Springer Publishing.

D’Zurilla, T. J., Nezu, A. M., & Maydeu-Olivares, A. (2004). Social problem solving: Theory and assessment. In E. C. Chang, T. J. D’Zurilla & L. J. Sanna (Eds.), Social prob¬lem solving: Theory, research, and training (pp. 11-27). Washington, DC: American Psychology Association.

Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A.-G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statisti¬cal power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Be¬havior Research Methods, 39, 175-191.

Gladstone, T. R., & Beardslee, W. R. (2009). The prevention of depression in children and adolescents: A review. The Canadian Journal of Psychiatry, 54(4), 212-221.

Gladstone, T. R., Beardslee, W. R. & O’Connor, E. E. (2011). The prevention of adolescent depression. Psychiatric Clinic of North America, 34(1), 35–52.

Nezu, A. M. Nezu, C. M. & D’Zurilla, T. J. (2013). Problem-Solving Therapy: A Treatment Manual. New York: Springer publishing.

Radloff, L. S. (1977). The CES-D scale: A self-report depression scale for research in the general population. Applied Psychological Measurement, 1, 385-401.

Ross, R., Zeller, R., Srisaeng, P., Yimmee, S., Somchid, S., & Sawatphanit, W. (2005). Depression, stress, emotional support, and self-esteem among baccalaureate nursing students in Thailand. International Journal of Nursing Education Scholarship, 2(1). 1-15

Rubin, A. & Yu, M. (2015). Within-group effect-size benchmarks for problem-solving therapy for depression in adults. Research on Social Work Practice, 27(5), 552-560.

Seyedfatemi, N., Tafreshi, M., & Hagani, H. (2007). Experienced stressors and coping strategies among Iranian nursing students. BioMed Central Nursing, 6(11), 1-10.

Steinberg, L. & Morris, A. S. (2001). Adolescent development. Annual Review of Psychol¬ogy, 52, 83-110.

Vatanasin, D., Thapinta, D., Thompson, E.A., Thungjaroenkul, P. (2012). Testing a model of depression among Thai adolescents. Journal of Child and Adolescent Psychiatric Nursing, 25, 195-206.