ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการเสริมสร้างแรงจูงใจต่อพฤติกรรม การดื่มสุราของผู้ป่วยจิตเภทที่ติดสุรา

Main Article Content

มานะศักดิ์ เหลื่อมทองหลาง
เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการดื่มสุราของ ผู้ป่วยจิตเภทที่ติดสุราก่อนและหลังได้รับโปรแกรม การบำบัดโดยการเสริมสร้างแรงจูงใจสำหรับผู้ป่วย จิตเภทที่ติดสุรา และ 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการ ดื่มสุราของผู้ป่วยจิตเภทที่ติดสุราระหว่างกลุ่มที่ได้ รับโปรแกรมการบำบัดโดยการเสริมสร้างแรงจูงใจ สำหรับผู้ป่วยจิตเภทที่ติดสุรากับกลุ่มที่ได้รับการ พยาบาลตามปกติ


วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยจิต เภทที่มีปัญหาการดื่มสุราแบบติดจำนวน 40 คน ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลแห่ง หนึ่งในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างได้รับการ สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรม การบำบัดโดยการเสริมสร้างแรงจูงใจสำหรับผู้ป่วย จิตเภทที่ติดสุรา และ 2) แบบประเมินพฤติกรรม การดื่มสุรา เครื่องมือทั้ง 2 ชุดผ่านการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 4 คน เครื่องมือลำดับที่ 2 มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของ ครอนบาค เท่ากับ.87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ บรรยายและสถิติทดสอบที


ผลการศึกษา สรุปได้ ดังนี้


1. พฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ป่วยจิตเภท ที่ติดสุราภายหลังได้รับโปรแกรมการเสริมสร้าง แรงจูงใจน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


2. หลังสิ้นสุดการทดลอง พฤติกรรมการ ดื่มสุราของผู้ป่วยจิตเภทที่ติดสุรากลุ่มที่ได้รับ โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจน้อยกว่าของกลุ่ม ที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05


สรุป: โปรแกรมการบำบัดโดยการเสริม สร้างแรงจูงใจสามารถลดพฤติกรรมการดื่มสุรา ของผู้ป่วยจิตเภทที่ติดสุราได้และควรนำไปปรับใช้ ในผู้ป่วยจิตเวชอื่นที่มีปัญหาการดื่มสุรา

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จีระพรรณ์ สุริยงค์, กิตติศักดิ์ วิบูลมา, พิมพาภรณ์ แก้วมา, มธุริน คำวงศ์ปิน, และเดชา ทำดี. (2557). ความชุกของปัญหาการดื่มสุรา ในผู้ป่วยจิตเภท. วารสารสุขภาพจิตแห่ง ประเทศไทย, 22(1), 38-47.

จลี เจริญสรรพ์ และเสาวลักษณ์ ยิ้มเยื้อน. (2556). คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ใช้สาร เสพติดร่วมสำหรับพยาบาล. โรงพยาบาล สวนสราญรมย์: สุราษฎร์ธานี.

ดรุณี ภู่ขาว (2549). การทบทวนองค์ความรู้ ด้านมาตรการป้องกันแก้ไขปัญหาที่เกี่ยว เนื่ องจากการดื่มเครื่ องดื่มผสมแอลกอฮอล์ .กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา สานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

บัณฑิต ศรไพศาล, ชินรัตน์ สมสืบ, ประกายรัตน์ ภัทรธิติ, สุรพร เสี้ยนสลาย และกุลกานต์ อภิวัฒนลังการ. (2553). รายงานสถานการณ์ สุราประจา ปี พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัย ปัญหาสุรา.

ปริทรรศ ศิลปะกิจ และ พันธุ ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์. (2552). แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2. แผนงานพัฒนา ระบบ รูปแบบและวิธีการบำบัดรักษา ผู้มีปัญหาการบริโภคสุราแบบบูรณาการ (ผรส.). กรุงเทพฯ: บริษัท ทานตะวันเปเปอร์ จำกัด.

เปรมฤทัย ไชยฮะนิจ. (2555). ปัจจัยคัดสรรที่มี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราใน ผู้ติดสุราที่มีโรคจิตเวชร่วม. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิชัย แสงชาญชัย. (2552). การทบทวนองค์ความรู้ เรื่อง จิตสังคมบำบัดสำหรับผู้ติดสุรา (พิมพ์ ครั้งที่ 1). แผนงานพัฒนาระบบ รูปแบบและ วิธีการบำบัดรักษา ผู้มีปัญหาการบริโภคสุรา แบบบูรณาการ (ผรส.). เชียงใหม่: วนิดา การพิมพ์.

พิชัย แสงชาญชัย. (2555). สุรากับโรคจิต. สายด่วน 1413 ศูนย์ปรึกษาปัญหาสุรา Alcohol help line. เอกสารอัดสำเนา.

ไพรวัลย์ ร่มซ้าย. (2553). การบำบัดเพื่อเสริมสร้าง แรงจูงใจในการลดการดื่มสุราในผู้ป่วย โรคจิตเภทที่รับการรักษาในหอผู้ป่วยชาย โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์. วารสารจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์, 8(12), 11-20.

เพ็ญพักตร์ ดารากร ณ อยุธยา. (2556). ความสำเร็จ ในการเลิกสุราของผู้ป่วยสุราที่มีโรคร่วม ทางจิตเวช. วารสารการพยาบาลจิตเวชและ สุขภาพจิต, 27(1), 1-15.

พุฒิชาดา จันทะคุณ. (2556). ผลของกลุ่มบำบัดต่อพฤติกรรมการบริโภคแอลกอฮอล์ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์.(2548). จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์.

มันฑนา กิตติพีรชล. (2551). การศึกษาความ สัมพันธ์ ของการดื่มสุรา การติดสุรา ต่อ อาการทางคลินิกและขนาดยาที่ใช้ในการ รักษาผู้ป่วย จิตเภท สถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้าพระยา. วารสารสถาบันจิตเวช ศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา, 2(1), 25-35.

วิชชุดา ยะศินธ์, สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์, กนกรัตน์ สุขะตุงคะ และเธียรชัย งามทิพย์วัฒนา. (2554). ลักษณะพยาธิสภาพทางจิตของ ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการดื่มสุรา. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 56(2), 167-178

สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. (2556). รายงานประจำปี 2556 สถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้าพระยา. สถาบันจิตเวชศาสตร์ สมเด็จเจ้าพระยา.

สวัสดิ์ เที่ยงธรรม. (2551). ผลการบำบัดเพื่อเสริม สร้างแรงจูงใจต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของ ผู้ที่เป็นโรคจิตจากสุรา. วารสารโรงพยาบาล จิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์, 31(1), 88-103.

หทัยวัน สนั่นเอื้อ. (2551). การใช้สารเสพติดใน ผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในหอ ผู้ป่วยจิตเวช โรงพยาบาลกาฬสินธุ์. วารสาร โรงพยาบาลร้อยเอ็ด, 16(1), 12-19

Addy, H. S., Askora, A., Kawasaki, T., Fujie, M., & Yamada, T. (2012). Loss of virulence of the phytopathogen Ralstonia solanacearum through infection by RSM filamentous phages. Phytopathology, 102, 469-477.

Biener, L., & Abrams, D. B. (1991). The Contem¬plation Ladder: Validation of a measure of readiness to consider smoking cessation. Health Psychology, 10, 360–365.

DiClemente, C. C., & Hughes, S. O. (1990). Stages of Change Profiles in Outpatient Alcohol¬ism Treatment. Journal of Substance Abuse, 2, 217-235.

Green, A. I., Drake, R. E., Brunette, M. F., & Noordsy, D.L. (2007). Schizophrenia and co-occurring substance use disorder. American Journal of Psychiatry, 164, 402-408.

Latt, N., Jurd, S., Tennant, C., Lewis, J., Macken, L., Joseph, A., Grochulski, A., & Long, L. (2011). Alcohol and substance use by patients with psychosis presenting to an emergency department: changing patterns. Australas Psychiatry. 19 (4), 354-359.

Martino, S., Carroll & Kostas, D. (2002). Dual Diagnosis motivational intervention: a modification of motivational interview¬ing for substance-abusing patients with psychotic disorders. Journal of Substance Abuse treatment, 2, 297-308.

Miller, F. (2000). Coping with chronic ill¬ness overcoming powerlessness. (3rd ed). Philadelphia, F. A: Davis Company.

Miller, W. R., & Rollnick, S. (2002). Motivation Interviewing: Preparing People For Change. Newyork: Guilford Press.

Miller, W. R. & Rollnick, S. (2007). Motivational Interviewing in the Treatment of Psycho¬logical Problems. New York: The Guilford press.

Polit, D. F., & Beck, T. B. (2004). Nursing research: Principles and method. (7th ed.). Philadelphia: Lippincott Williams and Wilkins.

Prochaska, J. O., & Diclmente, C. C. (1997). In search of how people change: applications to addictive behaviors in Additive behav¬iors: Reading on Etiology, Prevention, and Treatment. Edited by Marlatt, G. A, & VadenBos, G. R. Washington, DC: Ameri¬can Psychological Association Press.

Regier, D. A., Farmer, M. E., Rae, D. S., Locke, B. Z., Keith, S. J., & Judd, L. L. (1990). Comorbidity of Mental Disorders with Alcohol and Other Drug Abuse. The Jour¬nal of the American Medical Association, 264(19), 11-25.

Stuart, G. W., & Laraia, M. T. (2005). Principles and practice of psychiatric nursing. St. Louis: Elsevier Mosby.