ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อภาวะซึมเศร้า และความแข็งแกร่งในชีวิตของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ THE EFFECT OF THE RESILIENCE ENHANCING PROGRAM ON DEPRESSION AND RESILIENCE OF NURSING STUDENTS IN NURSE
Main Article Content
บทคัดย่อ
Objective: The present study was quasiexperimental research, which was aimed at investigating the effects of the resilience enhancing program on depression and resilience of nursing students.
Methods: The study sample consisted of 60 first-year undergraduate students in nursing science in the first semester of the academic year 2014, which 30 of them were assigned into the control group and the other 30 were in the experimental group. The subjects were selected based on the inclusion criteria. The instruments used in the study consisted of 1) the resilience enhancing program developed by Patcharin Nintachan et al.(B.E.2555),2)the demographic characteristics questionnaire, 3) Health-Related Self-Reported Scale (HRSR), and 4) Resilience Inventory. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test.
Results: The study findings were as follows: 1) The experimental subjects’ mean score of depression obtained at two weeks after program implementation was different from that obtained before program implementation with a statistical significance (p = .000). 2)Before implementing the program, the mean scores of depression of the subjects in the control group and the experimental group were not statistically significantly different. However, after implementing the program, even though the mean scores of depression of the subjects in the control group and the experimental group were not statistically significantly different, it could be seen that the mean score of depression of the experimental subjects was lower than that obtained before implementing the program. On the contrary, the mean score of depression of the subjects in the control group obtained after program implementation was higher than that obtained before program implementation. 3) The experimental subjects’ mean score of resilience obtained at two weeks after program implementation was different from that obtained before program implementation with a statistical significance (p = .000). 4)At two weeks after program implementation, the mean score of resilience of the experimental subjects was different from that of the control subjects with a statistical significance (p = .001).
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อภาวะซึมเศร้าและความแข็งแกร่งในชีวิตของนักศึกษาพยาบาล
วิธีการศึกษา: งานวิจัยนี้เป็นแบบกึ่งทดลองกลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2557 ของวิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 60 คน (กลุ่มควบคุม 30 คน และกลุ่มทดลอง 30 คน) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย โปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต ที่พัฒนาโดย พัชรินทร์ นินทจันทร์ และคณะ(2555) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามปัญหาสุขภาพสำหรับประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และ t-test
ผลการศึกษา: 1) นักศึกษากลุ่มทดลองหลังสิ้นสุดโปรแกรมฯ 2 สัปดาห์ มีคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้า แตกต่างจากก่อนการดำเนินโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) 2) ก่อนการดำเนินโปรแกรมฯ นักศึกษากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติส่วนหลังสิ้นสุดโปรแกรมฯ 2 สัปดาห์ นั้นแม้ว่าผลการวิเคราะห์ทางสถิติแสดงให้เห็นว่านักศึกษา กลุ่มควบคุมและนักศึกษากลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าก็พบว่านักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าหลังสิ้นสุดโปรแกรมฯ 2 สัปดาห์ ต่ำกว่าก่อนการดำเนินโปรแกรมฯ แต่นักศึกษากลุ่มควบคุม มีคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าหลังสิ้นสุด โปรแกรมฯ 2 สัปดาห์ สูงกว่าก่อนการดำเนินโปรแกรมฯ 3) หลังสิ้นสุดโปรแกรมฯ 2 สัปดาห์นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความแข็งแกร่งในชีวิต แตกต่างจากก่อนการดำเนินโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) 4) หลังสิ้นสุดโปรแกรมฯ 2 สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย