การศึกษาปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยปกป้องของผู้พยายามฆ่าตัวตายในเขตบริการสุขภาพที่ 7

Main Article Content

ปรารถนา คำมีสีนนท์,พย.ม
พรดุสิต คำมีสีนนท์, พย.ม.
จิตภินันท์ โชครัศมีหิรัญ, พย.ม.
เอมหทัย ศรีจันทร์หล้า,พย.ม.
สุนันทา คำชมพู,พย.ม
วัชรีวัลย์ เสาร์แก้ว,พย.บ.

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยปกป้องต่อกำรฆ่าตัวตายของผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายที่ อาศัยอยู่ในเขตบริการสุขภาพที่ 7


วัสดุและวิธีการ: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ในรูปแบบ case control study เพื่อเปรียบเทียบระหว่ำง กลุ่มผู้พยายามฆ่าตัวตาย (case) จำนวน 89 รำย กับกลุ่มประชำชนทั่วไป (control) จำนวน 267 รำย เก็บข้อมูลโดยกำรสัมภำษณ์เชิงโครงสร้ำงตำมแบบสำรวจปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยปกป้องการฆ่าตัวตาย ที่พัฒนำโดยผู้วิจัยซึ่งมีค่ำควำมเชื่อมั่นเท่ำกับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Stata version 10 ด้วยสถิติเชิงพรรณนา odds ratio และ logistic regression โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ p<0.05
ผล: การวิจัยปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการพยายามฆ่าตัวตาย ได้แก่ การมีสถานภาพสมรสหย่า/ร้าง/ หม้าย (OR = 7.77; 95%CI=1.18 – 51.22) การมีประวัติว่าในวัยเด็กเคยถูกทำร้ายร่างกายรุนแรง จากพ่อแม่หรือคนเลี้ยงดู (OR = 11.44; 95%CI=1.67 – 78.17) และการมีความขัดแย้งของความ สัมพันธ์ในครอบครัวหรือกับเพื่อนบ้านในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา (OR = 19.14; 95%CI= 3.78 - 96.94)ในส่วนปัจจัยปกป้องที่เกี่ยวข้องกับการพยายามฆ่าตัวตายนั้น ได้แก่ การมีทักษะการแก้ไขปัญหา
(OR = 0.02; 95%CI=0.00 – 0.16) และเมื่อมีเรื่องทุกข์ใจ ไม่สบายใจ จะมีบุคคลหรือหน่วยงานใดๆ คอยช่วยเหลือ (OR = 0.04; 95%CI=0.00 – 0.48)
สรุป: การป้องกันอุบัติการณ์การฆ่าตัวตายในผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง บุคลากรด้านสาธารณสุขจะต้องเพิ่ม ความตระหนักและให้ความสำคัญในการส่งเสริมทักษะกำรแก้ไขปัญหา ค้นหาแหล่งสนับสนุนทำงสังคม และจิตใจเพื่อเพิ่มศักยภาพด้านปัจจัยปกป้อง อันจะนำไปสู่การจัดการกับปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อไป กลยุทธ์เหล่ำนี้สำมำรถนาไปใช้เพื่อช่วยให้ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายและสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น


 

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

WorldHealth Organization Preventing suicide : a resource for general physicians. Department of Mental Health. Geneva: World Health Organization;2000.

มาโนช หล่อตระกูล. การฆ่าตัวตาย : การรักษาและป้องกัน.กรุงเทพฯ: บียอนด์เอนเทอร์ไพรซ์; 2553.

Hawton, K., Van Heeringen, K. Suicide. The Lancet, 2009, 373, 1372-1381.

อภิชัย มงคล, ทวี ตั้งเสรี, สุพิน พิมพ์เสน, ปัตพงษ์เกษสมบูรณ์, และนุศราพรเกษสมบูรณ์. รายงานผลการศึกษาเรื่องระบาดวิทยาของพฤติกรรมการทำร้ายตนเองและการฆ่าตัวตายปี พ.ศ. 2545. ขอนแก่น: คอมฟอร์ม (ขอนแก่น) จำกัด; 2546.

อภิชัย มงคล และคณะ.รายงานการประเมินผลเรื่อง โครงการป้องกันช่วยเหลือผู้มีภาวะซึมเศร้าและผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตาย พ.ศ. 2552. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, 2553.

หวาน ศรีเรือนทองและคณะ.ความเสี่ยงการฆ่าตัวตายของคนไทย:การสำรวจระดับชาติ.วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2554; 56(4): 413-424.

กรมสุขภาพจิต. ระบาดวิทยาของปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช.นนทบุรี. สำนักพัฒนาสุขภาพจิต, 2548.

Varcarolis, E.M. Foundation of psychiatric mental health nursing. A clinical approach. Philadelphia saunders, 2002.

Shives RL. Basic concept of psychiatric-mental health nursing. 6thed. Philadelphia: Lippincott Williams &Wilkins; 2005.

Valfre, M. M. Foundations of mental health care (3th ed.) Philadelphia: Mosby.2005.

Stuart ,W.G., &Laraia, L.M. Principle and practice of psychiatric nursing (8th ed). St.Louis: Mossby, 2005.

Boyd, A. M. Psychiatric nursing contempolary practice (2nd ed.). Philadelphia : Lippincott Williums& Wilkins. 2005.

New Zealand Guidelines Group (NZGG) and Ministry of Health. 2003. BEST PRACTICEEVIDENCE-BASEDGUIDELINETHE ASSESSMENT ANDMANAGEMENT OFPEOPLE AT RISKOF SUICIDE.Review Date: 2008 from https://www.health.govt.nz/system/files/documents/publications/suicide_guideline.pdf

อนุพงศ์ คำมา.ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตายสำเร็จ : กรณีศึกษาจังหวัดสุโขทัย.วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2556 ; 58 (1) : 3-6.

กรมสุขภาพจิต.รายงานประจำปี กรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554. กองแผนงาน กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี. 2554.

สุวนีย์ เกี่ยวกิ่งแก้ว. การพยาบาลจิตเวช. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการพิมพ์.; 2545.

ศุภรัตน์ เอกอัศวิน. การพยายามฆ่าตัวตายซ้ำในวัยรุ่นที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจิตเวช. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2547; 12(1): 40-49.

พรศิลป์ อุปนันท์. ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการฆ่าตัวตายของผู้รับบริการในโรงพยาบาลแม่จัน จังหวัดเชียงราย. วารสารสวนปรุง2552; 25(2): 27-37.

สมภพ เรืองตระกูล.การฆ่าตัวตาย : การประเมินและการรักษา.พิมพ์ครั้ง 1.คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.2551.

Lester, D. Domestic integration and the Taiwanese homicide and suicide rate. Chinese Journal of Mental Health, 1995, 8(3), 21-25.

Mastekaasa, A. ‘Marital status and subjective well-being: A changing relationship’, Social Indicators Research. 1993, (29), 249–276.

Stack, S. The Impact of Divorce on Suicide in Norway, 1951-1980. Journal of Marriage and Family 1989, 51 (1), 229-238.

Dube SR, Anda RF, Felitti VJ, Chapman DP, Williamson DF, Giles WH. Childhood abuse, Hawton, K., Van Heeringen, K. Suicide. The Lancet, 2009, 373, 1372-1381.

Greydanus DE, BacopoulouF,Tsalamanios E. Suicide in adolescents: aworldwidepreventabletragedy. Keio J Med 2009; 58: 95-102.

วิภาพร เสตะจันทร์. ระบาดวิทยาการทำร้ายตนเองและการฆ่าตัวตายของประชาชนจังหวัดบุรีรัมย์.วารสารโรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 2553 ; 11(ตุลาคม 2553 – กันยายน 2554) : 51-59

วินิทรา นวลลออ. ความชุกโรคซึมเศร้าในกลุ่มผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตายหรือทำร้ายตนเองที่มาตรวจรักษาในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. 2550; 52(1),19-28.

ชาติชัย มหาเจริญสิริ. การศึกษาผู้ป่วยฆ่าตัวตายที่รับการรักษาที่โรงพยาบาลโคกสำโรง. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 2551, 2(1),816-822.

ศักดา ขำคม.แบบแผนการดำเนินชีวิตของผู้ที่ไม่พยายามฆ่าตัวตายซ้ำอีก: กรณีศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศาสตร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2552.

Donald,M., Dower,J., Correa-Velez,I., &Jones,M. (2006). Risk and protective factors for medically serioussuicide attempts: a comparison of hospital-based with population-based samples of young adults. Australian and New Zealand Journal of Psychiatry, 40(1), 87-96.