การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 : แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน
คำสำคัญ:
การเรียนการสอนแบบออนไลน์, องค์ประกอบการสอน, การประยุกต์ใช้บทคัดย่อ
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019: COVID-19) ทำให้เกิดการปรับตัวเป็นวิถีชีวิตแบบใหม่ (New Normal) โดยเฉพาะสถาบันทางการศึกษาที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบปกติได้ จึงจำเป็นต้องใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เพื่อให้การเรียนรู้เกิดความต่อเนื่อง การเรียนการสอนแบบออนไลน์มีองค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา สื่อการเรียนและแหล่งเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบการติดต่อสื่อสาร ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดและการประเมินผล รูปแบบการเรียนการสอนมีหลากหลายวิธี ที่ทำให้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันได้ การพิจารณาองค์ประกอบและรูปแบบที่สอดคล้อง เหมาะสมกับลักษณะวิชา และบริบทของผู้เรียนจะนำไปสู่การประยุกต์ใช้สำหรับการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์
References
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ. 2561 – 2580. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด; 2561.
สำนักงานมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้. มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. นนทบุรี: บริษัท 21 เซนจูรี่ จำกัด; 2562.
Alibak M, Talebi H, Neshatdoost H. Development and Validation of a Test Anxiety Inventory for Online Learning Students. Journal of Educators Online 2019; 16(2).
Care E. Twenty-first century skills: From theory to action. In Assessment and Teaching of 21st Century Skills. Springer Cham 2018: 3-17.
World Health Organization. Rolling updates on coronavirus disease (COVID-19), Updated 26 March 2020. [Internet] 2020 [Cited 27 April 2020]. Available from: https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/events-as-theyhappen.
Hill B. Coronavirus: origins, signs, prevention and management of patients. British Journal of Nursing 2020; 29(7): 399-402.
Narine L, Meier C. Responding in a time of crisis: Assessing extension efforts during COVID-19. Advancements in Agricultural Development 2020; 1(2): 12-23.
Belarmino JA, Bahle-Lampe A. A Preliminary Historical Report on Embracing Online Education in Occupational Therapy. Open Journal of Occupational Therapy (OJOT) 2019; 7(3): 1.
กิตติชัย สุธาสิโนบล. หลักสูตรและการเรียนรู้แบบดิจิทัล. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ 2562; 20(1): 200-211.
Picciano AG. Theories and Frameworks for Online Education: Seeking an Integrated Model. Online Learning 2017; 21(3): 166–190.
Rao BJ. Innovative Teaching Pedagogy in Nursing Education. International Journal of Nursing Education 2019; 11(4): 176–180.
Sadykova G, Meskill C. Interculturality in Online Learning: Instructor and Student Accommodations. Online Learning Journal 2019; 23(1): 5-21.
Haugen K, Metcalf LK. Getting Started: Putting Courses Online. Radiologic Technology Journal 2018; 90(2): 187-191.
Shaban W, Bayrak C. Students Online Learning Measurement System Based On Estimated Time. International Journal of Innovation, Creativity and Change 2020; 11(1): 283-294.
Hussin WNTW, Shukor HJ, Shukor NA. Online interaction in social learning environment towards critical thinking skill: A framework. Journal of Technology and Science Education 2019; 9(1): 4-12.
ชโรชีนีย์ ชัยมินทร์. MOOC: เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 2562; 1(1): 46-70.
กชพรรณ นุ่นสังข์, วิภาวรรณ ชะอุ่ม เพ็ญสุขสันต์, สายฝน เอกวรางกูร. การพัฒนาการจัดการเรียน การสอนออนไลน์แบบเปิดสำหรับมหาชน (MOOC) ในรายวิชาจิตวิทยาพัฒนาการวัยสูงอายุ และจิตวิทยาพัฒนาการวัยรุ่น. Walailak Procedia 2019; (8).
วณิชา พึ่งชมภู, ณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์, บำเหน็จ แสงรัตน์. การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาพยาบาล: การสอนออนไลน์แบบเปิดสำหรับมหาชนในกระบวนวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ. พยาบาลสาร 2560; 44(พิเศษ 2): 103-110.
ธัญญธร เมธาลักษณ์, มธุวัลย์ ศรีคง, สุพัตรา สว่างกุล, เยาวลักษณ์ แก้วมณี, อติพร ตวงทอง, งามแข เรืองวรเวทย์. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของสื่อการสอนโปรแกรม Moodleเรื่องการใช้ direct ophthalmoscope ในรายวิชาจักษุวิทยา หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. เวชบันทึกศิริราช 2562; 12(3): 147-152.
วริศา วรวงศ์, พูลทรัพย์ ลาภเจียม, วราภรณ์ บุญยงค์. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของผู้เรียนรายวิชาการพยาบาลมารดาทารกและผดุงครรภ์ 1. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 2562; 25(2): 13-25.
เครือหยก แย้มศรี. ประสิทธิผลของการใช้แอปพลิเคชั่น Zoom cloud meeting ช่วยสอนในรายวิชาปฏิบัติการผดุงครรภ์. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2560; 16(2): 36-42.
พีรนันท์ วิศาลสกุลวงษ์, สุมิตตา สว่างทุกข์, มณีรัตน์ พราหมณี. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเสริมผ่านสื่อออนไลน์เฟซบุ๊กกรุ๊ป วิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ 2. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2563; 38(1): 97-106.
ศราวุธ เรืองสวัสดิ์, ปภาสินี แซ่ติ๋ว, ปิยะรัตน์ ชูมี. ผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานต่อทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี. วารสารพยาบาลทหารบก 2563; 21(1): 235-244.
นีรนาท จุลเนียม. การพัฒนารูปแบบการเรียนร่วมกับสื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร 2562; 7(2): 319-334.
Gagne RM, Briggs L, Wager WW. Principles of Instructional Design. New York: Holt, Rinehart, & Winston; 1992
อิสระ กุลวุฒิ, สุรีพร อนุศาสนนันท์, สมพงษ์ ปั้นหุ่น. รูปแบบการประเมินผลระหว่างเรียน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2561; 10(2): 21-33.
ขวัญตา บุญวาศ, ลำเจียก กำธร, จิณัฐตา ศุภศรี. การพัฒนาอาจารย์ในการจัดการเรียนรู้แบบสะท้อนคิดของวิทยาลัยพยาบาล และวิทยาลัยการสาธารณสุขเครือข่ายภาคใต้ สถาบันพระบรมราชชนก. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2559; 26(3): 130-143.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9