ประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลทันตสุขภาพในเด็กอายุ 0 - 3 ปี ตำบลผักปัง อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ
คำสำคัญ:
โปรแกรมดูแลทันตสุขภาพ, เด็ก 0-3 ปีบทคัดย่อ
ปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็กไทย เป็นปัญหาที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ โดยเฉพาะเด็กนักเรียนช่วงชั้นปฐมวัยอายุ 0-3 ปี ที่สำคัญคือปัญหาฟันผุ ซึ่งเกิดจากผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจใน การดูแลและเสริมสร้างพฤติกรรมช่องปากให้แก่เด็กไม่ถูกต้อง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi experimental research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการดูแลทันตสุขภาพ ในเด็กอายุ 0 - 3 ปี ตำบลผักปัง อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และเพื่อเปรียบเทียบความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กของผู้ปกครอง พฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปากของเด็กอายุ 0 - 3 ปี และอัตราฟันน้ำนมผุ ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มทดลอง (Experimental Group) จำนวน 132 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ (Control Group) จำนวน 124 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ปกครองและเด็ก แบบวัดความรู้ด้านการดูแลทันตสุขภาพในเด็ก และแบบบันทึกการตรวจช่องปากของเด็ก สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Independent Two Samples t-test
ผลการศึกษาพบว่า โปรแกรมการดูแลทันตสุขภาพในเด็กอายุ 0 - 3 ปี ตำบลผักปัง อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ มีผลต่อความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กของผู้ปกครอง พฤติกรรมการทำความสะอาด ช่องปาก ความสะอาดของช่องปากของเด็ก และอัตราฟันน้ำนมผุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001)
References
2. ปานทิพย์ เจียรวัฒนกนก, ฉวีวรรณ บุญเรศ. พฤติกรรมการบริโภค ขนมและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคขนม ของเด็กก่อนวัยเรียน ศูนย์เด็กเล็กธนากร ตำบลช่อแล อำเภอแม่แตงจังหวัดเชียงใหม่. วารสารทันตสาธารณสุข; 2551, 13(4): 97112.
3. กฤษณา วุฒิสินธ์. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการดูแลตนเองด้านทันตสุขภาพของครอบครัวและการเกิดสภาวะโรคฟันนํ้านมผุในเด็กวัยก่อนเรียน จังหวัดอุบลราชธานี [วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ประชากรศึกษา)]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2545.
4. ไกรสิทธิ ตันติศิรินทร์, เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม, ลินดา วงศานุพันธ์, บรรณาธิการ. รายงานสรุปผลการวิจัยโครงการแม่บทและโครงการย่อยภายใต้ชุดโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาสุขภาพคนไทย: การวิจัยโรคที่เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากและระบบบดเคี้ยว. บทคัดย่อสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. นครปฐม:มหาวิทยาลัยมหิดล; 2548: 531-2.
5. สุณี วงศ์คงคาเทพ, บุปผา ไตรโรจน์, สาลิกา เมธนาวิน, บรรณาธิการ. รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผสมผสานเพื่อลดปัญหาฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัย. นนทบุรี:ออนพริ้นช้อพ; 2548.
6. Casamassimo PS. Relationships between oral and systemic health. Pediatr Clin North Am 2000;47:1149-57.
7. จิตตพร นิพนธ์กิจ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดฟันผุในเด็กอายุ 1-3 ปีของจังหวัดเชียงราย ปี 2549.วิทยาสารทันตสาธารณสุข. 2550; 12: 16-28.
8. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ทันตสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2554.
9. ปาริชาติ ฉายศิริ. ประสิทธิผลโปรแกรมทันตสุขศึกษาต่อการลดโรคเหงือกอักเสบในกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วท.ม.(สุขศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. ถ่ายเอกสาร; 2534.
10. รำพึง ษรบัณฑิต. ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุ และโรคเหงือกอักเสบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก [วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศึกษา)]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2537.
11. สุวิภา อนันต์ธนสวัสดิ์. ผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาต่อพฤติกรรมทันตสุขภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2539.
12. เบญจา สุภสีมากุล. ประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาด้วยการใช้แรงสนับสนุนทางสังคมที่มีต่อพฤติกรรมการแปรงฟันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนน้ำพี้ จังหวัดอุตรดิตถ์.กรุงเทพฯ: ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย; 2543.
13. พิกุลพร ภูอาบอ่อน, วงศา เล้าหศิริวงศ์. การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน อบต.หนองผือ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารสำนักป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น 2555;19(1):11-26.
14. รัชนี กิจขุนทด และคณะ. ผลของโปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองม้าตำบลเสม็จ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ Research and Development Health System Journal 2557;1(245-259).
15. สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุขประจำปี 2557. นนทบุรี : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2557.
16. อุทัยวรรณ สวัสดิ์รักษา. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง อาเภอพรานกระต่าย จังหวัดกาแพงเพชร. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2553.
17. สถาพร ถิ่นบูรณะกุล. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี [วิทยานิพนธ์คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาครอบครัวและสังคม]. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2546.
18. ชิงชัย บัวทอง, ยินดี พรหมศิริไพบูลย์, อัจริยา วัชราวิวัฒน์. ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรม การป้องกันโรคฝันผุของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านบางเหียน อำเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2558; 3(2): 293-306.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9