ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลตนเอง ในการชะลอไตเสื่อมของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะที่ 1-2
คำสำคัญ:
ความฉลาดทางสุขภาพ, พฤติกรรมการดูแลตนเอง, โรคไตเรื้อรัง, การชะลอไตเสื่อมบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลตนเองในการชะลอไตเสื่อม ของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1-2 ที่มีภูมิลำเนาและพักอาศัยอยู่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 300 ราย ในระหว่างเดือน ธันวาคม 2562 ถึงเดือนพฤษภาคม 2563 เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบสัมภาษณ์ความฉลาดทางสุขภาพของผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง และ 3) แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 – 2 มีความฉลาดทางสุขภาพโดยรวมและพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และพบความสัมพันธ์ทางบวก (r = .144) ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลตนเองในการชะลอไตเสื่อม ของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 – 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคลากรด้านสุขภาพในการวางแผนส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 – 2 มีความฉลาดทางสุขภาพที่เพิ่มขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดพฤติกรรมการดูแลตนเองในการชะลอการเสื่อมของไตที่เหมาะสมและยั้งยืน
References
United States Renal Data System. CKD in the United States [internet]. 2015 [cited 2019 Jan 23]; (1):13-24. Available form: http://www.ajkd.org/article/S0272-6386(16)00094-9/pdf.
Centers for Disease Control and Prevention. Chronic kidney disease in the United States, 2019. 2019 [cited 2019 Feb 25]; (1):13-24. Available form: https://www.cdc.gov/kidneydisease /pdf/2019_National-Chronic-Kidney-Disease-Fact-Sheet.pdf
Chittinandana A, Chailimpamontree W, Chaloeiphap P. Prevalence of chronic kidney disease in Thai adult population. Journal of the Medical Association of Thailand Chotmaihet thangphaet 2006;89:S112-S120.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. เผยสถิติคนไทยติดเค็ม ป่วยโรคไตเรื้อรังกว่า 8 ล้านคน [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 2563 เมษายน 2]. เข้าถึงจาก: https://www.thaihealth.or.th/Content/51283%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%99%20.html
ธัญญารัตน์ ธีรพรเสิศรัฐ. ความรู้โรคไตสาหรับประชาชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เฮลธ์ เวิร์ค; 2556.
สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. คำแนะนำสำหรับการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต พ.ศ. 2558 [อินเตอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 2563 กรกฏาคม 26]. เข้าถึงจาก http://www.nephrothai.org/images/10-11-2016/Final_%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8 %AD_CKD_2015.pdf.
ประเสริฐ ธนกิจจารุ. สถานการณ์ปัจจุบันของโรคไตเรื้อรังในประเทศไทย. วารสารกรมการแพทย์ 2558. 5-18.
พร้อมจิต ห่อนบุญเหิม. ทฤษฎีการพยาบาลของโอเรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม: มหาสารคาม; 2553.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. ความฉลาดทางสุขภาพ.พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์นิวธรรมดาการพิมพ์; 2554.
Heijmans M, Waverijn G, Rademakers J, van der Vaart R, Rijken M. Functional, communicative and critical health literacy of chronic disease patients and their importance for self-management. Patient Education and Counseling 2015;98(1): 41-48.
Kobayashi LC, Wardle J, Wolf MS, Von Wagner C. Aging and functional health literacy: a systematic review and meta-analysis. Journals of Gerontology Series B: Psychological Sciences and Social Sciences 2016;71(3): 445-457.
Ricardo AC, Yang W, Lora CM, Gordon EJ, Diamantidis CJ, Ford V, et al. Limited health literacy is associated with low glomerular filtration in the Chronic Renal Insufficiency Cohort (CRIC) study." Clinical nephrology 2014;81(1): 30-37.
Lee EH, Lee YW, Moon SH. A structural equation model linking health literacy to self-efficacy, self-care activities, and health-related quality of life in patients with type 2 diabetes. Asian nursing research 2016;10(1): 82-87.
วรรณรัตน์ รัตนวรางค์, วิทยา จันทร์ทา. ความฉลาดทางสุขภาพด้านพฤติกรรมการดูแลตนเองกับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดชัยนาท. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา 2560;24(2):34-51.
อรุณี หล้าเขียว, ทวีวรรณ ชาลีเครือ. ความฉลาดทางสุขภาพและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับประทานยาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเปียงหลวง จังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ กลุ่มระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ 2558;1(6):635-649.
ลักขนา ชอบเสียง และคณะ. ความฉลาดทางสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น. วารสารวิทยศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 2561;2(2):30-46.
Devraj R, Gordon EJ. Health literacy and kidney disease: Toward a new line of research. American Journal of Kidney Diseases 2009; 53(5): 884-9.
สิรินทร ฉันศิริกาญจน์ และคณะ. สมรรถนะสมองของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ: ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อม. วารสารพิษวิทยาไทย 2558; 30(1): 41-59.
แสงเดือน กิ่งแก้ว, นุสรา ประเสริฐศรี. ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังหลายโรค. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2559;23(3):43-54.
วิภาวรรณ อะสงค์. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่]. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2558.
มณีรัตน์ จิรัปปภา. การชะลอไตเสื่อมจากวัยผู้ใหญ่ถึงวัยผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา 2557;20(2):5-16.
สิทธิพร โนรี, อัจจิมา บวรธรรมปิติ, สุรพล โนชัยวงศ์, เกียรติเกรียงไกร โกยรัตโกศล, ชยุตพงศ์ ในใส, เศรษพล ปัญญาทอง และคณะ. ความชุกและความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมและผู้ป่วยล้างไตทาช่องท้อง.ศรีนครินทร์เวชสาร 2560; 35(4):301-312.
Wong KK, Velasquez A, Powe NR, Tuot DS. Association between health literacy and self-care behaviors among patients with chronic kidney disease. BMC nephrology 2018;19(1): 1-8.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9