การประเมินและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตสตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน

ผู้แต่ง

  • สุนันทา ศรีมาคำ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
  • มาวศรี มานุช วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี

คำสำคัญ:

สตรีตั้งครรภ์, อาการคลื่นไส้-อาเจียน, คุณภาพชีวิต

บทคัดย่อ

สตรีตั้งครรภ์ในไตรมาสแรกต้องเผชิญกับอาการคลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งความรุนแรงของอาการจะทำให้แบบแผนการดำเนินชีวิตของสตรีตั้งครรภ์เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลกระทบต่อการรับรู้คุณภาพชีวิตลดลง  โดยระดับการรับรู้คุณภาพชีวิตมีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคลขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ความรุนแรงของอาการคลื่นไส้ อาเจียน ความเครียด แรงสนับสนุนทางสังคม  และการรับรู้ภาวะสุขภาพ และการประเมินคุณภาพชีวิตของสตรีตั้งครรภ์โดยแบบประเมินต่างๆ ได้แก่ แบบประเมินคุณภาพชีวิตของสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะคลื่นไส้อาเจียน (NVPQOL) แบบประเมิน Medical Outcomes Study Short Form 36 (SF-36) และแบบประเมินคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกฉบับย่อ (WHOQOL-BREF) ดังนั้น หากสตรีตั้งครรภ์ได้รับการประเมินและการดูแลที่เหมาะสมตามปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับรู้คุณภาพชีวิต ย่อมทำให้สตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนรับรู้คุณภาพชีวิตที่ดี ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีต่อการตั้งครรภ์ บทความวิชาการฉบับนี้ จึงนำเสนอแนวคิดคุณภาพชีวิต การประเมินคุณภาพชีวิต และแนวทางการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เพื่อส่งเสริมส่งเสริมการรับรู้คุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อเป็นแนวทางสำหรับพยาบาลผดุงครรภ์ในการดูแลสตรีตั้งครรภ์  

 

Author Biographies

สุนันทา ศรีมาคำ, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี

พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ (ด้านการสอน)
สาขาวิชาการพยาบาลสูติศาสตร์

มาวศรี มานุช, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี

พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ (ด้านการสอน)
สาขาวิชาการพยาบาลสูติศาสตร์

References

American College of Obstetrics and Gynecology. Updates pregnancy nausea and vomiting treatment guidelines. bstetrics & Gynecology. 2015; 126:687-688.

Munch S, Korst L M, Hernandez G D, Romero R, Goodwin T M. Health-related quality of life in women with nausea and vomiting of pregnancy: the importance of psychosocial context. Journal of Perinatology. 2011;31:10-20.

WHOQol Group. (1995). The development of the World Health Organization quality of life assessment instrument (the WHOQol). In Quality of life assessment: International perspectives (pp. 41-57). Springer Berlin Heidelberg.

นุจรี ประทีปะวณิช จอห์นส. บทนำ. ใน: นุจรี ประทีปะวณิช จอห์นส, บรรณาธิการ. คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ:การประเมิน และการนำไปใช้ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2552. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย

ขอนแก่น; 2550. หน้า 3-19

Ferrans C E. Development of a conceptual model of quality of life. Scholarly inquiry for nursing practice. 1996;10:293-304.

Ferrans C E, Zerwicn J J, Wilbur J E, Larson J L. Conceptual model of health related quality of life. Journal of nursing scholarship. 2005;37:336-342.

Wilson I B, Cleary P D. Linking clinical variables with health-related quality of life: a

conceptual model of patient outcomes. Jama. 1995;273:59-65.

Casey G. Treating nausea and vomiting. Kai Tiaki: Nursing New Zealand. 2012;18:20-24.

Littleton H L, Breitkopf C R, Berenson A B. Correlates of anxiety symptoms during pregnancy and association with perinatal outcomes: a meta-analysis. American Journal of Obstetrics and Gynecology. 2007;196:424-432.

Yilmaz E, Yilmaz Z, Cakmak B, Karsli M F, Gultekin I B, Dogan N G, et al. Nausea and vomiting in early pregnancy of adolescents: Relationship with depressive symptoms. Journal of Pediatric and Adolescent Gynecology. 2016;29:65-68.

Piwko C, Koren G, Babashov V, Vicente C, Einarson T R. Economic burden of nausea and vomiting of pregnancy in the USA. Journal of Population Therapeutics and Clinical Pharmacology. 2013;20.

Temming L, Franco A, Istwan N, Rhea D, Desch C, Stanziano G, Joy S. Adverse pregnancy outcomes in women with nausea and vomiting of pregnancy. The Journal of Maternal-Fetal & Neonatal Medicine. 2014;27:84-88.

สุนันทา ศรีมาคำ, จรัสศรี ธีระกุลชัย, จันทิมา ขนบดี. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของ สตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์. วารสารเกื้อการุณย์ 2561;25:36-50.60

Moons P, Budts W, De Geest S. Critique on the conceptualisation of quality of life: a review and evaluation of different conceptual approaches. International journal of nursing studies. 2006; 43:891-901.

Magee LA, Chandra K, Mazzotta P, Stewart D, Koren G, Guyatt GH. Development of a healthrelated quality of life instrument for nausea and vomiting of pregnancy. Am J Obstet Gynecol. 2002;186.

Liu M C, Chou F H. Health-related quality of life and associated factors in women with nausea and vomiting of pregnancy during the first trimester. Journal of Nursing &

Health Care Research. 2014;10:314-322.

Shalom A U, Uche O V, Sabina E. Health-related quality of life of women with nausea and

vomiting in pregnancy attending a maternal clinic in Nigeria. Journal of Pharmacy. 2016;6:1-6.

Balikova M, & Buzgova R. Quality of womens life with nausea and vomiting during pregnancy. Osetrovatelstvi a Porodni Asistence. 2014;5:29-35.

Ware JE, Jr, Kosinski M, Gandek B. SF-36 Health Survey: Manual & Interpretation Guide. Quality/Metric Incorporated; Lincoln, RI, USA: 2000.

Chan O K, Sahota D S, Leung T Y, Chan L W, Fung T Y, Lau T K. Nausea and vomiting in health-related quality of life among Chinese pregnant women. Australian and New Zealand Journal of Obstetrics and Gynaecology. 2010;50:12-18.

Jouybari L, Sanagu A, Chehregosha, M. The quality of pregnant women life with nausea and vomiting. QOM University of Medical Sciences Journal. 2012;6:14.

Kugahara T, Ohashi K. Characteristics of nausea and vomiting in pregnant Japanese

women.Nursing & Health Sciences. 2006;8:179-184.

The WHOQOL Group. Development of the World Health Organization WHOQOL-BREF quality of life assessment. Psychol Med 1998; 28: 551-8

Singh G. Depression common in early pregnancy and correlates with poor quality of life. Nepal Journal of Obstetrics and Gynaecology. 2019;14.

Kazemi F, Nahidi F, Kariman, N. Assessment scales associated factors and the quality of life score in pregnant women in Iran. Global Journal of health science. 2016);8:127-139.

สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล,วิรวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล,วนิดา พุ่มไพศาลชยั,กรองจิต วางศ์สุวรรณ และราณี พรหมานะจิรังกุล. (2540). เปรียบเทียบแบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุด100 ตวัช้ีวดั และ26 ตวัช้ีวดั.วารสารสุขภาพจิต, 5(3), 6-15.

พรนภา เจริญสันต์, ขวัญเรือน ด่วนดี, รังสินี พูลเพิ่ม. คุณภาพชีวิตของหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. วารสารพยาบาลทหารบก 2555;13:47-58.

ศิริภรณ์ เหมะธุลิน, จรัสศรี ธีระกุลชัย, ศรีสมร ภูมนสกุล. อิทธิพลของปัจจัยคัดสรรต่อคุณภาพชีวิตของมารดาหลังคลอด. วชิรสารการพยาบาล 2559;18:37-50.

เทวิกา จั่นเอี่ยม, จันทิมา ขนบดี, จรัสศรี ธีระกุลชัย. อิทธิพลของปัจจัยคัดสรร ความวิตกกังวล แรงสนับสนุนทางสังคม ต่ออาการคลื่นไส้ อาเจียนในสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสแรก. วชิรสารการพยาบาล 2558;17:83-96.

ปณิตา ปรีชากรกนกกุล, สมพร วัฒนนุกูลเกียรติ, วิลาวรรณ พันธุ์พฤกษ์. ความเครียดและการเผชิญความเครียดของสตรีตั้งครรภ์ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมเขตอุตสาหกรรมสุรนารีจังหวัดนครราชสีมา. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ. 2555;35:53-61.

Boltman-Binkowski H. A systematic review: Are herbal and homeopathic remedies used during pregnancy safe?. Curationis. 2016;39:1-8.

Chou F H, Avant K C, Kuo S H, Fetzer S J. Relationships between nausea and vomiting, perceived stress, social support, pregnancy planning, and psychosocial adaptation in a sample of mothers: A questionnaire survey. International Journal of Nursing Studies. 2008;45:85-91.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-05