การดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับอาหารผ่านทางเดินอาหาร
คำสำคัญ:
การดูแล, ทารกเกิดก่อนกำหนด, อาหาร, ผ่านทางเดินอาหารบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับอาหารผ่านทางเดินอาหาร ประกอบด้วย สรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร ข้อควรพิจารณาในการให้อาหาร และการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับอาหารผ่านทางเดินอาหาร การเกิดก่อนกำหนดของทารก มักส่งผลให้การพัฒนาและการทำหน้าที่ของอวัยวะแต่ละระบบไม่สมบูรณ์ ทางเดินอาหารเป็นระบบหนึ่งที่ทำให้ทารกมีข้อจำกัดของการได้รับสารอาหาร ทารกที่ได้รับอาหารที่เพียงพอจะลดความเสี่ยงการเกิดปัญหาหลายอย่าง ช่วยให้ทารกมีการเจริญเติบโตที่มีคุณภาพ ซึ่งต้องอาศัยการดูแลให้ทารกได้รับอาหารผ่านทางเดินอาหารเป็นสำคัญ อาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารกเกิดก่อนกำหนดคือนมมารดา โดยควรเริ่มให้อาหารผ่านทางเดินอาหารโดยเร็วที่สุดเมื่อทารกอยู่ในสภาพที่พร้อม ด้วยการให้นมในปริมาณน้อย เพื่อเป็นการให้อาหารแก่เยื่อบุลำไส้ มักเริ่มให้ทางสายยางให้อาหาร อาจให้เป็นมื้อหรือต่อเนื่องแล้วแต่สภาพของทารก หลังให้นมควรจัดท่านอนตะแคงขวาหรือคว่ำ ศีรษะสูงเล็กน้อย และขณะให้นมทางสายยางให้อาหารควรส่งเสริมกระตุ้นการดูดแก่ทารก ด้วยการนวดบริเวณปากและภายในช่องปากก่อนให้นม สนับสนุนให้มารดามีส่วนร่วมในการดูแลทารก พร้อมทั้งส่งเสริมการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดาตามหลักบันได 10 ขั้น เมื่อทารกมีปฏิกิริยาการดูดกลืนสัมพันธ์ มีอาการคงที่จึงให้ทารกดูดนมเอง และติดตามประเมินผลในทุกกิจกรรมของการดูแลทารก
References
Foster JP, Psaila K, Patterson T. Non-nutritive sucking for increasing physiologic stability and nutrition in preterm infants. Cochrane Database Syst Rev [Internet] 2016 Oct 4 [cited 2020 Aug 2]; 10(10):CD001071. doi: 10.1002/14651858.CD001071.pub3. PMID: 27699765; PMCID: PMC6458048. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/pmid/27699765/
Hockenberry MJ, Wilson D. Wong’s Nursing Care of Infants and Children. 10th ed. Canada: Mosby; 2015.
Pillitteri A. Maternal and Child Health Nursing: Care of the childbearing and childrearing family. 7th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2013.
โสภาพรรณ เงินฉ่ำ. Enteral Feeding Strategies for Very Low Birth Weight Infants: Know How. ใน: สันติ ปุณณะหิตานนท์, บรรณาธิการ. Update and Practical Points in Preterm Care. กรุงเทพ: แอคทีฟพริ้นต์ จำกัด; 2557. หน้า 158-171.
ศิริเพ็ญ ลิมปธรรม, นฤมล ธีระรังสิกุล, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์. ผลของการนวดกระต้นการดูดกลืนในทารกเกิดก่อนกำหนดในระยะให้นมทางสายยางให้อาหารต่อความสามารถในการดูดนม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2559; 24(4): 43-53.
อุไรวรรณ โชติเกียรติ. Fact and Myth About Breastfeeding. รายงานการประชุมวิชาการนมแม่แห่งชาติครั้งที่ 5 วันที่ 2-4 กันยายน 2558 ณ โรงแรมมณเฑียร รีเวอร์ไซด์ กรุงเทพฯ, 2558.
Mosca F, Giannì ML, Roggero P, Menis C, Morlacchi L, Liotto N, Bracco B. Critical questions on nutrition of preterm infants. J Ped Neonat Individual Med [Internet]. 2017Jun.5 [cited 2020 Aug 6]; 6(2):e060203. Available from: https://jpnim.com/index.php/jpnim/article/view/060203
Boquien CY. Human Milk: An ideal food for nutrition of preterm newborn. Front Pediatr [Internet]. 2018 Oct 16 [cited 2020 Aug 6]; 6(295). doi: 10.3389/fped.2018.00295 Available from: https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fped.2018.00295/full
วิภาวรรณ ชัยลังกา, ทิพวัลย์ ดารามาศ, ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล. ผลของการใช้นมแม่ร่วมกับการนวดปากกระตุ้นการดูดกลืนต่อประสิทธิภาพการดูดนมในทารกเกิดก่อนกำหนด. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2561; (24)1: 25-36.
วัชรี ตันติประภา. Enteral Feeding Strategies for Very Low Birth Weight Infants: The use of breast milk. ใน สันติ ปุณณะหิตานนท์, บรรณาธิการ. Update and Practical Points in Preterm Care. กรุงเทพ: แอคทีฟพริ้นต์ จำกัด; 2557. หน้า 238-260.
Narang APS, Bains HS, Kansal S, Singh D. Serial composition of human milk in preterm and term mothers. Indian J Clin Biochem [Internet]. 2006 Mar [cited 2020 Aug 16]; 21(1). doi: 10.1007/BF02913072. Available from: https://link.springer.com/article/10.1007/BF02913072#citeas
พิมลรัตน์ ไทยธรรมยานนท์. การดูแลทารกแรกเกิดก่อนกำหนดและทารกน้ำหนักตัวน้อย. ใน ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. Newborn [อินเตอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย; 2561 [เข้าถึงเมื่อ 2563 สิงหาคม 6] เข้าถึงได้จาก: http://www.thaipediatrics.org/Media/media-20180418145630.pdf
Mishra S, Agarwal R, Jeevasankar M, Deorari AK, Paul VK. Minimal enteral nutrition. Indian J Pediatr. 2008 Mar;75(3):267-9. doi: 10.1007/s12098-008-0057-y. PMID: 18376096.
McKinney ES, James SR, Murray SS, Nelson K, Ashwill J. Maternal-Child Nursing. 5th ed. Philadelphia: Saunders; 2017.
Kline MW, Blancy SM, Giardino AP, Orannge JS, Penny DJ, Schutze AP, Shekerdemian LS., editors. Rudolph’s Pediatrics. 23rd ed. New York: McGraw-Hill; 2018.
กิรญา คงเจริญสมบัติ. ผลของอัตราการให้นมทางสายยางให้อาหารและการวางตำแหน่งกระบอกให้นมต่อสารอาหารและพลังงานในนมแม่ [อินเตอร์เน็ต]. ม.ป.ป. [เข้าถึงเมื่อ 2563 สิงหาคม 6] เข้าถึงได้จาก: https://www.thaipediatrics.org/thesis/pdf/0001/Keraya_Khongcharoensombat.pdf
Bozzetti V, Tagliabue PE. Enteral nutrition for preterm infants: by bolus or continuous? An update. Pediatr Med Chir. 2017 Jun 28;39(2):159. doi: 10.4081/pmc.2017.159. PMID: 28673080.
สมพร โชตินฤมล. ทำอย่างไรการเลี้ยงทารกน้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัมด้วยนมแม่จะประสบผลสำเร็จ [อินเตอร์เน็ต], 2559. [เข้าถึงเมื่อ 2563 สิงหาคม 6] เข้าถึงได้จาก: http://www.tmchnetwork.com/node/154
Farhat AS, Khakshour A, Hosseini Z. Comparison of continuous and intermittent feeding methods in low birth weight infants. Iranian Journal of Neonatology [Internet]. 2011; 2(2): 8-11. [cited 2020 Aug 15]. Available from: http://wwwsid.ir/en/journal/ViewPaper.aspx?id=269258
Beauman S. Warming of Infant Feedings, n.d. [cited 2020 Aug 5]. Available from http://wwwmedela.us/breastfeeding-professionals/blog/warming-of-infant-feedings
จณัญญา โมรา. ผลของการจัดท่าต่อปริมาณของเหลือค้าง ในกระเพาะอาหารในทารกเกิดก่อนกำหนด [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลเด็ก]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2559.
หทัยชนก นิติกุล, สุดาภรณ์ พยัคฆ์เรือง, นงลักษณ์ จินตนาดิกล, จันทนา พันธ์บูรณะ. ผลของการจัดท่านอนขณะและหลังให้นมทางสายยางให้อาหารต่อความสามารถในการรับนมในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักตัวน้อย. วารสารสภาการพยาบาล 2557; 29(4):32-44
Chen SS, Tzeng YL, Gau BS, Kuo PC, Chen JY. Effects of prone and supine positioning on gastric residuals in preterm infants: A time series with cross – over studies. International Journal of Nursing Studies 2013; 50(11): 1459-67.
นุชนารถ ปรึกษาดี, ทิพวัลย์ ดารามาศ, ศรีสมร ภูมนสกุล. ผลของโปรแกรมการนวดปากในทารกเกิดก่อนกำหนดต่อระยะเปลี่ยนผ่าน จากการให้นมทางสายยางสู่การกินนมทางปากและน้ำหนักตัว. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2560; (23)3: 257-68.
พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา, จริยาพร วรรณโชติ. การพยาบาลทารกแรกเกิด. ใน พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา, บรรณาธิการ. การพยาบาลเด็ก เล่ม 1 (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส จำกัด, 2556. หน้า 195-313.
Kenner C, Ellerbee S. Nursing care for high risk newborn. In Lowdermilk DL, Perry SE, Cashion K, Alden KR, editors. Maternity & Women’s Health Care. St. Louis: Mosby Elsevier; 2012: 894-930.
ปิยะธิดา เกิดทองมี. รายงานการประชุม Good Clinical Practice in Neonatology; วันที่ 23-25 สิงหาคม 2560; ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: ชมรมเวชศาสตร์ทารกแรกเกิดแห่งประเทศไทย; 2560.
Gardner SL, Carter BS, Enzman-Hines M, Hernandes JA, editors. Merenstein & Gardner’s Handbook of Neonatal Intensive Care. 8th ed.). Missouri: Mosby; 2015.
ภาวิน พัวพรพงษ์. การประเมินการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. Journal of Medicine and Health Sciences 2557; 2(1): 10-21.
Cross C. Demand VS. Scheduled Breastfeeding [Internet]; 2014 [cited 2020 Aug 26]. Available from: http://www.mom.com/baby/12296-demand-vs-scheduled-breastfeeding
Lacovou M, Sevilla A. Infant feeding: the effects of scheduled vs. on-demand feeding on mothers' wellbeing and children's cognitive development. Eur J Public Health. 2013 Feb;23(1):13-9. doi: 10.1093/eurpub/cks012. Epub 2012 Mar 14. PMID: 22420982; PMCID: PMC3553587.
พิมพ์ชนก บุญเฉลิม, ทัศนี ประสบกิตติคุณ, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม, วาสิตา จิรสกุลเดช. ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมมารดาและทารกเกิดก่อนกำหนดต่อการรับรู้สมรรถนะของตนเองในการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่และประสิทธิภาพการดูดนม. J Nurs Sci 2012; 30(4): 61-72.
ฐานัดดา อยู่เกษม. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำหรับทารกป่วย ใน ศิริพัฒนา ศิริธนารัตนกุล (บรรณาธิการ).การประชุมวิชาการนมแม่แห่งชาติครั้งที่ 5: ภาคีร่วมใจ ช่วยแม่ไทยเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วันที่ 2-4 กันยายน 2558, ณ โรงแรมมณเฑียร รีเวอร์ไซด์ กรุงเทพฯ: ปริ้นท์แอนด์บอร์จำกัด; 2558: 71-73.
ศิริลักษณ์ ถาวรวัฒนะ. Breast-feeding sick babies. ใน ศิริพัฒนา ศิริธนารัตนกุล (บรรณาธิการ). เอกการประชุมวิชาการนมแม่แห่งชาติครั้งที่ 5: ภาคีร่วมใจ ช่วยแม่ไทยเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วันที่ 2-4 กันยายน 2558, ณ โรงแรมมณเฑียร รีเวอร์ไซด์กรุงเทพฯ: ปริ้นท์แอนด์บอร์ จำกัด; 2558: 105-111.
Spatz DL. Ten steps for promoting and protecting breastfeeding for vulnerable infants. J Perinat Neonatal Nurs. 2004 Oct-Dec;18(4):385-96. doi: 10.1097/00005237-200410000-00009. PMID: 15646308.
Cameron G, Byrne P, Shaik S. Enteral feedings neonatal critical care program [Internet]. 2015 [cited 2020 Aug 22]. Available from: http://www.excontent.covenanthealth.ca/Policy/Enteral_Feeding_Guidelines.pdf
Oregon Pediatric Nutrition Practice Group. Nutrition Practice Care Guidelines for Preterm Infants in the Community [Internet]. 2016. [cited 2020 Aug 3]. Available from: https://www.oregon.gov/oha/PH/HEALTHYPEOPLEFAMILIES/WIC/Documents/preterm.pdf
รุ่งทิวา หวังเรืองสถิตย์, จารุวรรณ รังสิยานนท์, อัญชลี รุ่งฉาย, เพ็ญนภา ดำมินเศก,วิลาวัณย์ สายสุวรรณ. แนวทางการเตรียมความพร้อมมารดาในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนด ภายหลังการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลในประเทศไทย: การสังเคราะห์งานวิจัยอย่างเป็นระบบ. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2562; 39(1): 66-78.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9