การบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่างในสตรีตั้งครรภ์ด้วยโยคะอาสนะ

ผู้แต่ง

  • เยาวเรศ สมทรัพย์ คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ
  • อัชฌา วารีย์ คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ

คำสำคัญ:

โยคะอาสนะ, สตรีตั้งครรภ์, อาการปวดหลังส่วนล่าง

บทคัดย่อ

สตรีตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงร่างกายในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อมากที่สุด ส่งผลทำให้มีอาการปวดหลังส่วนล่าง หากไม่ได้รับการดูแลย่อมเกิดผลกระทบทั้งต่อตัวสตรีตั้งครรภ์ และครอบครัว ปัจจุบันการบรรเทาอาการปวดหลังขณะตั้งครรภ์มีหลายวิธี โยคะอาสนะเป็นหนึ่งทางเลือกในวิธีบรรเทาอาการปวดหลัง ที่มีความปลอดภัยสูง โดยปฏิบัติเป็นชุดท่า อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30-60 นาที ติดต่อกันนาน 4-6 สัปดาห์ จะพิ่มความแข็งแรงและลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหลัง หน้าท้อง อุ้งเชิงกราน และขา จึงบรรเทาและป้องกันอาการปวดหลังส่วนล่าง นอกจากนี้การปฏิบัติโยคะอาสนะยังเป็นการบริหารกาย จิต และลมหายใจควบคู่กันไป เนื่องจากขณะสตรีตั้งครรภ์ปฏิบัติโยคะอาสนะที่เป็นชุดท่า จิตของสตรีตั้งครรภ์จะมีความแน่วแน่ และตามรับรู้กับการเคลื่อนไหวของร่างกายและลมหายใจ จึงเพิ่มความสุขและความสงบทางใจ

Author Biographies

เยาวเรศ สมทรัพย์, คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ

รองศาสตราจารย์

อัชฌา วารีย์, คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

References

McKinney ES, Jame SR, Murray SS, Nelson KA, Ashwill, JW. Maternal-child nursing. 5th ed. St. Louis, Missouri: Elsvier; 2018.

Silbert-Flagg J, Pilliterry A. Maternal-child health nursing: Care of the childbearing & childrearing family. 8th ed. Philadelphia: Wolters Kluwer; 2018.

Cooper K, Gosneel C. Foundations of nursing. 8th ed. St. Louis, Missouri: Elsvier; 2019.

Gutke A, Boissonnault J, Brook G, Stuge B. The severity and impact of pelvic girdle pain and low-back pain in pregnancy: A multinational study. J Women Health 2017; 27(4): 510–17.

Ansari NN, Hasson S, Naghdi S, Keyhani, S, Jalaie S. Low back pain during pregnancy in Iranian women: Prevalence and risk factors. Physiother Theory Pract 2010; 26(1): 40-8.

Resmi DC, Hadisaputro S, Runjati. Effect of yoga and acupressure on pain and functional capability of low back pain in pregnant mothers during the third trimester of pregnancy. Belitung Nurs J 2017; 3(6): 722-28.

Close C, Sinclair M, Liddle D, McCullough J, Hughes C. Women's experience of low back and/or pelvic pain (LBPP) during pregnancy. Midwifery 2016; 37: 1-8.

Sabino J, Grauer J. Pregnancy and low back pain. Curr Rev Musculoskelet Med 2008; 1: 137–41

Mackenzie J, Murray E, Lusher J. Women's experiences of pregnancy related pelvic girdle pain: A systematic review. Midwifery 2018; 56: 102-11.

Vermani E, Mittal R, Weeks A. Pelvic girdle pain and low back pain in pregnancy: A review. Pain Pract 2010; 10(1): 60–71.

Chang HY, Jensen MP, Yang YL, Lee CN, Lai YH. Risk factor of pregnancy-related lumbopelvic pain: A biopsychosocial approach. J Clin Nurs 2011; 21(9-10): 1274-83.

Khan MJ, Israr A, Isma B, Abaidullah S, Nazish M, Farooq H. Prevalence of pregnancy related low back pain in third trimester and Its impact on quality of life and physical limitation. JIIMC 2017; 12(1): 39-43.

Hassett, R. J., Peake, S., & Mason, M. (2002).Medical treatment: Pharmacotherapy and supportive measures. In J. Derebery & J. Anderson (Eds.), Low back pain: An evidence-based, biopsychosocial model for clinical management. Massachusetts: OEM Press; 2002.

สร้อยศรี เอี่ยมพรชัย, สิริกานต์ ภูโปร่ง, สุภาวดี หนองบัวดี, ดอกไม้ วิวรรธมงคล, พัสราภรณ์ ศุภวงศ์วรรธนะ, สุรางค์ วิเศษมณี, และคณะ. การนวดไทยแบบราชสำนักกับการประคบด้วยสมุนไพร: ประสิทธิผลในการลดปวดหลังระยะคลอด. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2552; 7(2-3): 181-8.

กาญจนา โกทิยะ, ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์. การบริหารร่างกายของหญิงตั้งครรภ์เพื่อบรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง. วารสารนราธิวาสราชนครินทร์ 2559; 8(3): 154-67.

Wadhwa Y, Alghadir AH, Iqbal ZA. Effect of antenatal exercises, including yoga, on the course of labor, delivery and pregnancy: A retrospective study. Int J Environ Res Public Health 2020; 17(15): 5274.

Barakat, R.; Pelaez, M.; Montejo, R.; Luaces, M.; Zakynthinaki, M. Exercise during pregnancy improves maternal health perception: A randomized controlled trial. Am J Obstet Gynecol 2011; 204: 402.e1–7.

Shim M-J, Lee Y-S, Oh H-E, Kim J-S. Effects of a back pain reducing program during pregnancy for Korean women: A non-equivalent control-group pretest-posttest study. Int J Nurs Stud 2007; 44(1): 19-28.

กาญจนา คงชนะ, ประภาพร ชูกำเหนิด, วรางคณา ชัชเวช. ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ด้วยโยคะต่อความไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2559; 36(2): 133-47.

เยาวเรศ สมทรัพย์, โสเพ็ญ ชูนวล,ธารางรัตน์ หาญประเสริฐพงษ์, ฝนทอง องค์พลานุพัฒน์. การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ด้วยโยคะ. วารสารสภาการพยาบาล 2554; 26 (ฉบับพิเศษ): 95-111.

Saper RB, Sherman KJ, Cullum-Dugan D, Davis RB, Phillips RS, & Culpepper L. Yoga for chronic low back pain in a predominantly minority population: A pilot randomized controlled trial. Alter Thera Health Med 2009; 15(6): 18-27.

Kinser PA, Pauli J, Jallo N, Shall M, Karst K, Hoekstra M, & et al. Physical activity and yoga-based approaches for pregnancy-related low back and pelvic pain. J Obstet Gynecol Neonatal Nurs 2017; 46(3): 334–46.

Holden SC, Manor B, Zhou J, Zera C, Davis RB, Yeh GY. Prenatal yoga for back pain, Balance, and maternal wellness: A randomized, controlled pilot study. Glob Adv Health Med 2019; 8: 1-11.

เยาวเรศ สมทรัพย์. โยคะเพื่อสุขภาวะสตรีตั้งครรภ์. สงขลา: อัลลายด์เพรส จำกัด; 2553.

พเยาว์ เกษตรสมบูรณ์, เยาวเรศ สมทรัพย์. โยคะกับกำเนิดชีวิตใหม่. สงขลา: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2547.

Narendran S, Nagarathna R, Nagendra HR. Yoga for pregnancy. Bangalore: Rashtrotthana Mudranalaya; 2005.

Iyengar GS. Yoga: A gem for women. New Delhi: Allied Publishers Ltd; 2006.

Desikachar TKV. The Heart of Yoga: Developing a personal practice. 2nd ed., Teeradeh Uthaiwittharat, (Translator). Bangkok: Kledthai; 2007.

Iyengar BKS. Light on yoga. New Delhi: Harper Collins Publisher; 2006.

กวี คงภักดีพงษ์. วิถีชีวิตแห่งโยคะ (ตอนที่ 2) หมอชาวบ้าน 2552; 30 (358): 46-47.

สถาบันโยคะวิชาการ. อาสนะไม่ใช่การออกกำลังกาย. [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 26 มกราคม 2564]. เข้าถึงจาก: http://www.thaiyogainstitute.com/asana-not-workout/

Kaminoff L, Matthews A. Yoga anatomy. 2nd ed. USA: Human Kinetic; 2012.

ชััชฎาภรณ์์ นันทขว้้าง, เยาวเรศ สมทรััพย์์, บุุปผา อินต๊๊ะแก้้ว. ผลของโยคะอาสนะต่่ออาการปวดหลัังในมารดาหลัังคลอด. พยาบาลสาร 2563; 47(4): 181-92.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-04-15